Page 8 - สาระสำคัญ บทที่ 17 เรื่องของไหล
P. 8

17.6 ความหนืด

                       ความหนืดจะแตกต่างกันตามชนิดของเหลว ซึ่งแก๊สมีความหนืดเช่นกันแต่จะมีน้อยกว่าของเหลว โดย แรง

                                                                           ์
               หนืด เป็นแรงต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุอันเนื่องมาจากความหนืด สโตกส(Stokes'law) ได้ศึกษาแรงหนืดจึงพบว่า
               แรงหนืดแปรผันตรงกับความเร็วของวัตถุทรงกล ได้สมการดังนี้


                                                          = 6        

                                                 เมื่อ F คือ แรงหนี้ดของของไหล


                                                        r คือ รัศมีของวัตถุทรงกลม

                                                         v คือ ความเร็วของวัตถุทรงกลม


                                                         คือ ความหนี้ดของของไหล

               17.7 พลศาสตร์ของของไหล


                       17.7.1 ของไหลอุดมคต  มีคุณสมบัตดังนี้
                                           ิ
                                                      ิ
                              1.มีการไหลอย่างสม่ำเสมอ


                              2.มีการไหลโดยไม่หมุน

                              3.มีการไหลโดยไม่มีแรงต้านเนื่องจากความหนืด


                              4.ไม่สามารถอัดได  ้

                       17.7.2 การไหลของของไหลอุดมคต  ิ

                              เส้นกระแส คือ อนุภาคหนึ่ง ๆ ของของไหลจะเคลื่อนที่ไปตามเส้นทางเดินเส้นหนึ่ง โดยความเร็ว

                       ของอนุภาคที่ตำแหน่งตาง ๆ มีทศทางในแนวเส้นสัมผัส ณ ดำแหน่งนั้น ดังรูป 17.27 และอนุภาคแต่ละ
                                                 ิ
                                          ่
                       ตัวที่เคลื่อนที่ผ่านจดเดียวกันต้องเคลื่อนทบนสกระแสเดียวกันและเนกระแสแต่ละส้นจะไม่ตัดกัน ถ้าให้
                                                         ี่
                                      ุ
                       เส้นกระแสจำนวนหนึ่งอยู่เรียกันเป็นมัด ดังรูป 1.28 จะเรียกมัดของเสนกระแสนี้ว่า หลอดการไหลหลอด
                                                                                ้
                       การไหลนี้จึงเปรียบเสมือนท่อที่มีของไหลไหลเข้าทางปลายขางหนึ่งและไหลออกทางปลายอีกข้างหนึ่ง
                                                                        ้
   3   4   5   6   7   8   9