Page 22 - การวจยทางการศกษา v.7_Neat
P. 22
14. ภำคผนวก (appendix)
สิ่งที่นิยมเอาไว้ที่ภาคผนวก เช่น แบบสอบถาม แบบฟอร์มในการเก็บหรือบันทึกข้อมูล
เมื่อภาคผนวก มีหลายภาค ให้ใช้เป็น ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ฯลฯ แต่ละภาคผนวก ให้
ขึ้นหน้าใหม่
15. ประวัติของผู้ด ำเนินกำรวิจัย (biography)
ประวัติของผู้วิจัย เป็นข้อมูลที่ผู้ให้ทุนวิจัยมักจะใช้ประกอบการพิจารณาให้ทุนวิจัย ซึ่ง
ถ้ามีผู้วิจัยหลายคนก็ต้องมีประวัติของผู้วิจัยที่อยู่ในต าแหน่งส าคัญๆ ทุกคนซึ่งต้องระบุว่า
ใครเป็นหัวหน้าโครงการ ใครเป็นผู้ร่วมโครงการในต าแหน่งใด และใครเป็นที่ปรึกษา
โครงการ
ประวัติผู้ด าเนินการวิจัย ควรประกอบด้วยประวัติส่วนตัว (เช่น อายุ เพศ การศึกษา)
ประวัติการท างาน และผลงานทางวิชาการต่างๆ
1.5 จรรยาบรรณของนักวิจัย
"นักวิจัย" หมายถึง ผู้ที่ด าเนินการค้นคว้าหาความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อตอบ
ประเด็นที่สงสัยโดยมีระเบียบวิธีอันเป็นที่ยอมรับในแต่ละศาสตร์ที่เกี่ยวข้องระเบียบวิธี
ดังกล่าวจึงครอบคลุมทั้งแนวคิดมโนทัศน์ และวิธีการที่ใช้ในการรวบรวมและวิเคราะห์
ข้อมูล
"จรรยำบรรณ" หมายถึง หลักความประพฤติอันเหมาะสม แสดงถึงคุณธรรมและ
จริยธรรมในการประกอบอาชีพ ที่กลุ่มบุคคลแต่ละสาขาวิชาชีพ ประมวลขึ้นไว้เป็นหลัก
เพื่อให้สมาชิกในสาขาวิชาชีพนั้นๆ ยึดถือปฏิบัติ เพื่อรักษาชื่อเสียง และส่งเสริมเกียรติคุณ
ของสาขาวิชาชีพของตน
สภาวิจัยแห่งชาติจึงก าหนด "จรรยำบรรณนักวิจัย" ไว้เป็นแนวทางส าหรับนักวิจัย
ยึดถือปฏิบัติ เพื่อให้การด าเนินงานวิจัยตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของจริยธรรมและหลักวิชาการที่
เหมาะสม ตลอดจนประกันมาตรฐานของการศึกษาค้นคว้าให้เป็นไปอย่างสมศักดิ์ศรีและ
เกียรติภูมิของนักวิจัยไว้ 9 ประการดังนี้
1. นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ