Page 2 - บทที่ 9 คลื่นกล
P. 2

2



















                                         รูปที่ 3 การแกวงของลูกตุ้มในกรณีมุมเล็ก ๆ (θ มีค่านิอย)
                                                      ่


                                                           l
                                               T = 2π√                               (9.1)
                                                           g
                                     T     เป็นคาบของการแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย มีหน่วยเป็น วินาที (s)
                                     l      เป็นความยาวของเชือกหรือแขนที่ติดลูกตุ้มอย่างง่าย มีหน่วยเป็น เมตร (m)

                                                                                       2
                                     g     เป็นความเร่งโน้มถ่วง มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที (m/s )
               ความถี่ของการแกว่งของลูกตุ้ม (f) คือ ส่วนกลับของคาบซึ่งเขียนได้ ดังสมการ (9.2)

                                                     1    g
                                                   f =  √                                    (9.2)
                                                    2π    l
               จากสมการ (9.2) แสดงว่าสำหรับความยาวของเส้นเชือกหรือแขนที่ติดกับลูกตุ้มค่าหนึ่ง ก็จะมีความถี่เฉพาะค่า

               หนึ่งที่เรียกว่า ความถี่ธรรมชาติ (Natural frequency)
                       ในกรณีที่มีวัตถุมวล m ผูกติดกับปลายของสปริงที่ถูกแขวนอยู่ในแนวดิ่ง ถ้าออกแรงดึงมวล m ให้สปริง

               ยืดออกไปที่ระยะหนึ่ง แล้วทำการปล่อย วัตถุมวล m จะเกิดสั่นขึ้นลงด้วยความถี่ธรรมชาติดังสมการ (9.3) และ

               คาบของการสั่นจะเป็นดังสมการ (9.4)


                                             1     k
                                       f =      √                                          (9.3)
                                             2π   m
                                              1    m
                                       T =       √                                         (9.4)
                                             2π     k
                                     f      เป็นความถี่ของการสั่นของวัตถุ มีหน่วยเป็น รอบต่อวินาที หรือ เฮิรตซ์ (Hz)

                                     m      เป็นมวลของวัตถุ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม (kg)

                                     k      เป็นค่าคงที่ของสปริง มีหน่วยเป็น นิวตันต่อเมตร (N/m)

                                     T      เป็นคาบของการสั่นของวัตถุ มีหน่วยเป็น วินาที (s)
   1   2   3   4   5   6   7