Page 89 - 385-67 สถาบันบำบัด P.10
P. 89
2. องค์กรพยาบาลควรมีนโยบายพัฒนาพยาบาลวิชาชีพให้มีโอกาสทําหน้าที่ในบทบาท พยาบาล ผู้จัดการรายกรณีเพิ่มมากขึ้น และนําแนวคิดการจัดการรายกรณีมาพัฒนาการดูแลกลุ่มผู้ป่วยที่มีความยุ่งยาก ซับซ้อน รุนแรง เน้นการดูแลโดยใช้ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ส่งเสริมให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีของผู้ป่วย ร่วมกับ ทีมสหสาขา เช่น แพทย์ นักจิตวิทยา นักอาชีวบําบัด นักสังคมสงเคราะห์ เป็นต้น
เอกสารอา้ งอิง
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง สําหรับสถาบัน/โรงพยาบาลสังกัดกรมสุขภาพจิต. นนทบุรี: บริษัทพรอสเพอรัสพลัส จํากัด.
กาญจนา เหมะรัตน์, เพลิน เสี่ยงโชคอยู่, อุ่นจิตร คุณารักษ์, นิรมล ปะนะสุนา. (2555). ผลของการจัดการราย กรณีในผู้ป่วยจิตเภทต่อความร่วมมือในการรับประทานยาและการป่วยซ้ํา. วารสารการพยาบาล จิตเวชและสุขภาพจิต, 26(2): 63-73.
กิตติศักดิ์ สุรพงษ์พิวัฒนะ. (2559). ผลการจัดการรายกรณี: แบบโรงพยาบาลและชุมชนเป็นฐานในผู้ป่วยโรคจิตเภท. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สรุ ินทร์ บุรีรมั ย,์ 31(2): 111-9.
กีรตยา อุ่นเจริญ. (2560). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้ป่วยโรคร่วมจิตเวชสารเสพติดในเขต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตําบลบ้านห้อม อําเภอเมือง จังหวัดนครพนม. สาระนิพนธ์สังคม สงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม ภาควิชาสังคม สงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด. (2564) การพัฒนากฎหมายในทิศทางนโยบายยาเสพติดแนวใหม่. สืบค้นเมื่อ มกราคม 5, 2567, เข้าถึงข้อมูลจาก https://www.oncb.go.th/EBookLibrary.
ฌาตยา สงห้อง. (2559). โรคร่วมทางจิตเวชในผู้ใช้สารเสพติดโรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราชนครินทร์. วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา, 10(1), 52-63.
นิตยา ตากวิริยะนันท์. (2558). การพยาบาลผู้ทไี่ ด้รับยาทางจิตเวช. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. บุรฉัตร จันทร์แดง. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเสยี่ งต่อยาเสพติดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
โรงเรียนดงหลวงวิทยา อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ปาริชาติ ใจสุภาพ. (2547). การจัดการผู้ป่วยรายกรณีสําหรับดูแลผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. รายงานการศึกษา
อิสระปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชมหาวิทยาลัยขอนแก่น. พรรนอ กลิ่นกุหลาบ และคณะ. (2563). รายงานวิจัยประสิทธิผลของการพฒั นามาตรฐานการพยาบาลผู้ติดยา
และสารเสพตดิ ผู้ป่วยหนัก. สถาบันบําบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.
พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์ และคณะ. (2560). การป้องกันโรคจิตเวช: มาตรการและทางเลือกนโยบายที่มี
ประสิทธิผล. เชียงใหม่: หจก วนิดาการพิมพ์.
87