Page 27 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 27


            ปริมาณธาตุอาหารเพียงพอ การใสปุยอินทรียอัตรา 3 กก./ตน/ป สามารถลด
            การใชปุยเคมีลงได รอยละ 50

            ขอควรคํานึงในการใชปุยมูลสัตว  

                                                                    ํ
                                                               
                                                                   
                    ไมควรนําไปใชในพื้นที่ที่ไกลเกินไปจากแหลงผลิต อยาไดนาปุยไปผึ่ง
                                                                   
            แดดเพราะจะสูญเสียธาตุไนโตรเจนไปโดยการระเหิด เก็บรักษาไวใหแหงในที่
                                                   ื้
            รม และใชปุยในสภาพที่แหง ใสปุยขณะที่ฝนชนพอเหมาะและพรวนกลบปุย
            ทันที อยาใสปุยใกลกับพืชที่ปลูกและใชในปริมาณที่พอเหมาะ
            คําแนะนําการใชวัสดุปรับปรุงดินในสวนยาง
                              ิ
                                  ื
                     ุ
                  ั
                 วสดปรับปรุงดน  คอ วสดที่ใสในดนเพื่อปรับปรุงคณสมบัตทางฟสิกส
                                                            ุ
                                                                   ิ
                                               ิ
                                     ั
                                       ุ
                                          ิ
                        ี้
                                                    
                                                                    ิ
            เชน แกลบ ขเลื่อย ปรับปรุงสมบัตทางเคมี เชน ปูน สําหรับแกดนเปนกรด
              
                                                                       ิ
            สําหรับสวนยางโดยทั่วไปไมแนะนําใหใชปูนเนื่องจากยางเปนพืชที่ชอบดนเปน
                                                       
            กรดจัดมากถงกรดจัด (pH 4.5-5.5) การใสปูนไมวาจะเปนปูนชนดใดยกเวน
                                                                           
                                                                   ิ
                       ึ
                            
                                                                ิ
            ยปซัมจะสามารถชวยปรับระดบความเปนกรดเปนดางของดน (pH) ใหเพิ่ม
                                                         
                                      ั
              ิ
                      
                                          
                    
                                                             
            สูงขึ้น แตตองระวงไมให pH สูงกวา 5.5 เพราะจะทําใหตนยางแสดงอาการ
                           ั
                   ิ
                           
            ผิดปกตออกมาได   ปริมาณแคลเซียม (Ca)  ที่มากเกินไปจะทําใหพืชแสดง
                                               ้ํ
                         ุ
            อาการขาดธาต K ขอบใบจะกลายเปนสีนาตาลและแหงตาย อาการเริ่มจาก
                                                                          
                           
                                              
            ปลายใบลุกลามเขาสูโคนใบ และทําใหตนยางแสดงอาการขาด Mg รวมดวย
            โดยเนื้อเยื่อระหวางเสนใบเปลี่ยนเปนสีเหลืองในขณะที่เสนใบยังคงมีสีเขียว
            พืชคลุมดินในสวนยาง
                                                                      
                                                                
                                       ั้
                         
                    การใชปุยในสวนยางนนไมควรใชเพียงชนดเดยว แตควรใชรวมกัน
                                                       ิ
                                                           ี
                                                
                                                                     ิ
                                                                    
                                               ิ
            ทั้งหมดทุกชนด ใหคลายกับสภาพของดนตามธรรมชาต การใชดนเพื่อให
                        ิ
                                                             ิ
            ยางพาราไดผลผลิตสูง คือตองทําใหดินมีอินทรียวัตถุอยูในระดับสูงคงที่ เพราะ
                                    ี
                                                              ื้
            จะชวยทําใหดินมีโครงสรางด เก็บกักธาตอาหารและความชนไดด เปนแหลง
                                                                  
                                                                   ี
                                               ุ
                                                 
            อาหารใหกับจุลินทรียที่จะชวยยอยสลายสิ่งตางๆ และละลายธาตอาหารจาก
                                                                   ุ
            กอนหินกอนแรในดิน ใหอยูในรูปที่พืชใชประโยชนได  วิธีที่ทําไดงาย ตนทุนต่ํา
            และไดผลดี คือการปลูกพืชคลุมดินตระกูลถั่ว
            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 23
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32