Page 30 - การทำสวนยางฯ ศวย.นค.ปกแดง E_book
P. 30

ิ
            ขางที่สูงกวา 30 เซนตเมตร คดเลือกเลี้ยงกิ่งที่สมบูรณไวพียง 2-3 กิ่ง ใน
                                                              
                                                            
                                       ั
              
                      
            ตําแหนงที่ไดสมดุล เพื่อชวยใหมีพื้นที่ใบเหมาะสม
                           ระยะที่ 2 ตนฤดูฝนปที่ 2
                                         
                                                       ่ํ
                            ั
                                
                                                                           ิ
                           ตดแตงกิ่งแขนงขางทุกกิ่งที่แตกตากวา 1 เมตรจากพื้นดน
                                                           
                                
                              ู
            และหมั่นเดนตรวจดตนยางอยางสม่ําเสมอ หากพบวามีกิ่งแขนงเริ่มแตก
                                       
                                                           
                       ิ
            ออกมาใหมใหรีบปลิดหรือใชกรรไกรตดออก สวนที่สูงกวา 1 เมตร ควรตด
                                                             
                                             ั
                                     
                                                                           ั
                               ั
                 
            ออกตอเมื่อมีกิ่งที่ระดบ 1.90-2.30 เมตรออกมาแลว หรือกิ่งแขนงที่เลี้ยงไว 
            เจริญเติบโตมากกวา 3 ฉัตร เพื่อเลี้ยงทรงพุมในระยะที่ 3 ใหเร็วที่สุด
                           ระยะที่ 3 ปลายฤดูฝนปที่ 2
                                   
                                                       
                                                          
                           กิ่งแขนงขางทุกกิ่งที่แตกสูงเกินกวาชวง 2.30 เมตร ไมตอง
                                                                          
            ตัดแตงอีก ตนยางออนที่มีกระโดงยอดเดิมแคระแกร็นไมเจริญเตบโตและมีกิ่ง
                                                                 ิ
                                                    ิ
            แขนงขางแตกออกมาใหม 2-3 กิ่ง เจริญเตบโตสมบูรณไมแตกตางกัน
                                                                       
                   
                                                               
                                            
                                                             ิ
                       ั
            จําเปนตองตดทอนยอดของกิ่งแขนงขาง เพื่อชะลอการเตบโตใหเหลือกิ่งที่มี
            แนวโนมเจริญเติบโตเปนกิ่งกระโดงยอดที่ดีเพียงกิ่งเดียว ดวยการตัดกิ่งบริเวณ
            ใตขอฉัตร ใหเหลือใบของฉัตรนั้น ๆไว 4-5 ใบ เพื่อชวยปรุงอาหารและปองกัน
            การแตกตาใหมมากเกินไป บางกรณีแมมีกิ่งแขนงขางแตกออกมาเพียงกิ่งเดียว
            แตมีความสมบูรณและแขงแรงมากกวายอดเดมที่แสดงอาการแคระแกร็น
                                                    ิ
                                             
                                   ็
               
                            
                                                                       
                                
               
            อยางเดนชด ก็จําเปนตองตดกระโดงยอดเดมทิ้ง แลวเลี้ยงกิ่งแขนงขางเปน
                   
                                                  ิ
                      ั
                                    ั
            กระโดงยอดแทน ดวยเหตุผลเชนเดียวกัน
                    2.  การตัดแตงเพื่อควบคุมทรงพุมใหมีพื้นที่ใบเหมาะสม
                                                                       ุ
                                                                
                         การตัดแตงยางออนในเขตพื้นที่แหงแลง จําเปนตองควบคมทรง
            พุมใหมีการแตกกิ่งที่เหมาะสม มีพุมใบสมบูรณ และเจริญออกไปในทิศทางที่ได 
                                                   
            สมดุล เพื่อใหตนยางออนสรางอาหารไดดี ปองกันการแตกกิ่งเปนพุม ภายหลังตด
                                                                           ั
            แตงเลี้ยงกิ่งใหเจริญเติบโตเปนทรงพุมที่ 1.90-2.30 เมตร ควรตัดแตงกิ่งแขนง
            ใหเหลือเพียง 2-3 กิ่ง เก็บไวเปนกิ่งหลักและใหกิ่งเหลานเจริญตอไปอีก
                                      
                                                                      
                                                               ี้
            2-3 ฉัตร เทานั้น
            การทําสวนยางพาราตามหลักวิชาการของสถาบันวิจัยยางในพื้นที่ปลูกยางใหม    หนา 26
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35