Page 14 - คู่มือการปฏิบัติทางการเกษตรดีที่เหมาะสมสำหรับยางพารา
P. 14
10
ึ
ู
่
ี
๋
ี
๋
การผสมปุยสตร 30-5-18 มสัดสวนการผสมอย่างง่าย ดังน้ ี 6:1:3 หมายถง ปุยยูเรย (46-0-0)
ี
จ านวน 6 กระสอบ ปุยไดแอมโมเนยมฟอสเฟต (18-46-0) จ านวน 1 กระสอบ และปุยโพแทสเซยม (0-0-60)
๋
ี
๋
ี
ั
ู
ั
ื
จ านวน 3 กระสอบ สตรน้ผสมได้คร้งละ 500 กโลกรม หรอ 10 กระสอบ ใสต้นยางได้ 1,000 ต้น อัตราต้นละ
ิ
่
500 กรม หรอค านวณง่าย ๆ อัตราการใสปุย 1 กระสอบต่อไร ่
ั
๋
่
ื
้
๋
๋
ู
ี่
ในกรณทไม่ต้องการผสมปุยใช้เอง และไม่สามารถหาปุยสตร 29-5-18 จากรานค้าได้ เกษตรกร
ี
๋
ู
ั
อาจเลอกใช้ปุยสตร 15-7-18 แทนโดยใสคร้งละ 500 กรมต่อต้น รวมกับปุยสตร 46-0-0 ถ้าใสแบบหว่านใช้
่
ื
ั
่
่
๋
ู
่
่
ั
อัตราคร้งละ 300-350 กรมต่อต้น ถ้าใสแบบขุดหลุมแล้วฝงกลบใช้อัตราคร้งละ 150-175 กรมต่อต้น โดยใส ป ี
ั
ั
ั
ั
ั
ละ 2 คร้ง
ส าหรบการใสปุยคอกหรอปุยอนทรย์ ควรใสโดยผสมคลุกเคล้ากับดน หรออาจใช้วิธโรยเปน
ี
ี
่
ิ
็
ื
ื
๋
ั
๋
่
ิ
๋
่
ุ
ื
ึ
่
ี
ึ
่
จด ๆ หางจากแถวยาง 2-3 เมตร หรอใสกงกลางระหว่างแถวยาง ไม่ควรวางปุยทั้งกระสอบ ถงแม้ว่าจะกรด
ี
ิ
กระสอบให้ขาดก็ตาม เพราะไม่มผลในการปรบสภาพดน
ั
ภาพที่ 5 การใสปุยในสวนยาง
๋
่