Page 15 - คู่มือการปฏิบัติทางการเกษตรดีที่เหมาะสมสำหรับยางพารา
P. 15

11



                       4.6  โรคยางพาราที่สาคัญและการปองกันก าจัด

                                                    ้
                              โรคราก
                                                                          ิ
                                                                     ี
                              โรครากของยางพาราทส าคัญในประเทศไทยม 3 ชนดคือ โรครากขาว  โรครากน ้าตาล และ
                                                 ี่
                                ุ
                                                                                        ี่
                                  ิ
                                                   ู
                                                       ื
                                        ื
                                            ็
               โรครากแดง สาเหตเกดจากเช้อเหดราชั้นสง เช้อราเข้าท าลายระบบราก ท าให้ต้นยางทเปนโรคยืนต้นตาย โรค
                                                                                          ็
               จะลุกลามไปสต้นยางรอบรศมของต้นทเปนโรคทั้งในแถวและระหว่างแถว หากปล่อยไว้โรคจะขยายลุกลาม
                                                 ี
                                         ี
                                                 ่
                                                   ็
                            ่
                                       ั
                            ู
                                                                    ิ
               ท าให้ต้นยางตายเพิ่มขึ้นและรายได้ลดลงตลอดอายุการให้ผลผลตของสวนยาง
                                   ้
                                                                              ี
                              การปองกันก าจัดโรครากให้ประสบผลส าเรจต้องใช้วิธการจัดการแบบผสมผสาน ทั้งการ
                                                                    ็
                                                                                                   ุ
                                                                                                         ี
                                                                        ี
                                                                                        ิ
                  ิ
                                                                                                     ิ
               ปฏบัตทางเขตกรรม การท าความสะอาดแปลงปลูก การใช้สารเคม และการเพิ่มประสทธภาพของจลนทรย์ท         ่ ี
                                                                                           ิ
                     ิ
                                                                              ่
                               ิ
                                                                   ึ
                                                                                                       ี
                                                                              ี
                                       ิ
                                                                                                       ่
                 ็
               เปนประโยชน์ในดน โดยเร่มตั้งแตการเตรยมแปลงปลูกจนถงระยะเก็บเกยวและโค่น ได้แก่ เตรยมพื้นทปลูก
                                                                                                ี
                                                   ี
                                             ่
                                                                         ิ
                                                                           ิ
               ในชวงแล้ง โดยก าจัดตอไม้หรอรากไม้เดมออกจากแปลง ให้ไถพลกดนตากแดดอย่างน้อย 2 คร้ง แตละคร้ง
                                                   ิ
                                                                                                          ั
                   ่
                                                                                                      ่
                                         ื
                                                                                                 ั
                                                           ิ
                                                                                       ่
                                                            ็
                 ่
                                                   ี่
                                                     ี
               หางกัน 10-20 วัน ในแปลงยางปลูกแทนทมประวัตเปนโรคราก ไม่ควรปลูกยางในชวง 1-2 ปแรก แต่ให้ปลูก
                                                                                              ี
                                                  ่
                                                                                                ่
               พืชล้มลุกอายุสั้นทดแทนก่อน เชน พืชไรตระกูลถั่ว พืชคลุม พืชตระกูลแตง ข้าวโพดหรอข้าวไร เพื่อตัดวงจร
                                           ่
                                                                                          ื
                 ี
                                ่
                     ื
                                                       ิ
                  ิ
                                        ่
                                    ิ
               ชวตเช้อราโรครากทมชวตอยูในเศษรากไม้ในดน
                                   ี
                                ี
                                  ี
                                                                                  ี
                                                                                        ิ
                                                       ื
                                                   ิ
                               ้
                                                                                             ็
                                                                                ี
                                                                                ่
                              ปองกันต้นยางปลูกใหม่ตดเช้อราโรครากขาวในแปลงยางทมประวัตการเปนโรคมาก่อน ใส     ่
                                                           ั
                                                                                                     ื
                              ๋
                                                                              ิ
                                                                                                          ๋
                            ื
               ก ามะถันผง หรอปุยยูเรย (46-0-0) อัตรา 100-200 กรม ผสมกับดนในหลุมท้งไว้ 15 วันก่อนปลูกยาง หรอใช้ปุย
                                                                     ิ
                                   ี
                                                                                         ่
                                           ั
                                                                                      ิ
                        ี
               แอมโมเนยมซัลเฟต 200-300 กรม ผสมกับดนและกลบปลูกต้นยางได้โดยไม่ต้องท้งชวง จากนั้นใสซ ้าอัตรา
                                                                                                    ่
                                                     ิ
                                                                                     ่
                                        ี
                                ่
                         ื
                                     ิ
                                    ่
                                    ี
                 ิ
                                              ื
                                                                                                ึ
               เดมทุก 4 เดอนในชวงทดนมความช้น โดยโรยและกลบตามแนวรอบทรงพุ่มในชวงแรกปลูกถง 2 ป ี ไม่ควร
                                                                          ่
                                                                                  ี่
                      ิ
                                                                              ่
                             ื่
               โรยให้ชดต้น เนองจากท าให้เกดอันตรายกับต้นยาง และยูเรยไม่ควรใสในชวงทยางใบอ่อน
                                         ิ
                                                                 ี
                              การควบคุมโรคหลังปลูก ตรวจสอบการเปนโรคโดยการสังเกตลักษณะใบ ลักษณะโคนต้น
                                                                  ็
                                                                                                    ั
                                      ็
                                                                    ิ
                                            ุ
                                                                   ี
                                                                                                   ี
               และราก หากพบต้นยางเปนโรครนแรง ให้ขุดออก ต้นยางทเร่มแสดงอาการทางใบ ให้ใช้สารเคมรกษาและ
                                                                   ่
                 ้
                                                           ็
                                                                                        ิ
                                                                                                          ี
               ปองกันต้นข้างเคียง โดยขุดดนออกจากโคนต้นให้เปนรองรอบโคนกว้าง 30-45 เซนตเมตร และราดสารเคมท     ี่
                                                              ่
                                        ิ
                                                                                       ิ
               ผสมน ้าลงไปรอบโคนต้นปรมาณ 1-4 ลตรขึ้นกับขนาดของต้นยาง โดยไม่ต้องกลบดน และใช้สารเคมซ ้าทุก
                                        ิ
                                                                                                      ี
                                                 ิ
                                    ั
                                                                                                ี
                                                                                  ็
                                                                                           ่
                     ื
               4-6 เดอนอย่างน้อย 2 คร้ง และให้ตรวจสอบต้นยางสม าเสมอ หากพบต้นยางเปนโรคในชวง 3 ปแรก แสดงว่า
                                                             ่
                                                                                             ้
                                                 ี
                                                        ื
                                    ิ
                  ิ
                                ื
               บรเวณหลุมปลูกหรอบรเวณใกล้เคียงมแหล่งเช้ออยู ให้ขุดท าลาย รวมกับการขุดรองเพื่อปองกันการลุกลาม
                                                                         ่
                                                                                     ่
                                                            ่
                                                   ิ
                                                                                                      ี
               ของโรค กว้าง 30 เซนตเมตร ลก 60 เซนตเมตร ระหว่างต้นถัดจากต้นยางแสดงอาการทางใบในแถวเดยวกัน
                                          ึ
                                    ิ
               ข้างละ 2 ต้น และกงกลางระหว่างแถวข้างเคียงของแถวยางทพบโรคกับแถวถัดไปทั้งสองข้าง
                               ่
                               ึ
                                                                  ่
                                                                  ี
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20