Page 12 - TEMCA MAGAZINE ฉบับที่ 4 ปีที่ 28
P. 12

                                    ส กู๊ ป พิ เ ศ ษ
        รถไฟฟ้า 6 ที่นั่งของ William Morrison
รถยนต์ไฟฟ้ารุ่น P1
พัฒนาโดย Ferdinand Porsche
รถยนต์ไฟฟ้าท่ีพัฒนาโดย Henry Ford และ Thomas Edison
ตัวอย่างภาพรถไฟฟ้าในยุคเริ่มต้น
 หลังจาก ค.ศ. 1900 (พ.ศ. 2443) มาอีก
เกือบ 1 ทศวรรษ รถยนต์ไฟฟ้ายังคงได้รับ
ความนิยมอยู่พอสมควร ถึงแม้รถยนต์ที่ใช้
เครื่องยนต์สันดาปภายในจะมีผลิตขายมา ตัวอย่างเช่น Ferdinand Porsche เจ้าของ
  ก่อนแล้ว สาเหตุก็เน่ืองมาจากความสะดวก และใช้งานง่ายของรถยนต์ไฟฟ้า ในอดีต การใช้เคร่ืองยนต์สันดาปภายในนั้น ผู้ขับขี่ ต้องมีการออกแรงหมุนเพ่ือติดเครื่องเอง ซึ่งต้องออกแรงอยู่พอสมควร ท้ังยังมีเสียง ดงั และมมี ลพษิ ทางอากาศทแ่ี ยม่ ากๆ เนอ่ื ง จากการเผาไหม้ท่ีไม่สมบูรณ์ของเคร่ืองยนต์ ยุคน้ัน แถมยังต้องมีการเข้าเกียร์ ซ่ึงไม่ง่าย เลย สําาหรับคนท่ีไม่เคยขับรถยนต์ในยุคนั้น ด้วยเหตุผลต่างๆ เหล่านี้ จึงทําาให้ความ นิยมเครอ่ื งยนตส์ นั ดาปภายในยงั ไมส่ งู นกั ใน ขณะที่รถยนต์ไฟฟ้าในยุคน้ัน เงียบ สะอาด ปลอดภัย และไม่มีเสียง (ข้อดีก็ไม่ต่างจาก รถยนต์ไฟฟ้าในยุคนี้) ซ่ึงก็ได้รับความนิยม มาก ในพ้ืนที่เมืองใหญ่ท่ีมีไฟฟ้าใช้แล้ว เพราะเหมาะกับการเดินทางที่ระยะทางไม่ ไกลมาก แต่สําาหรับชนบทหรือการเดินทาง ในระยะทางไกลนน้ั ยงั มปี ญั หาอยู่ เนอ่ื งจาก พ้ืนที่นอกเมืองส่วนใหญ่ในขณะนั้นยังไม่มี ไฟฟ้าใช้ จึงเป็นข้อจําากัดสําาคัญ และเป็นจุด อ่อนของรถยนต์ไฟฟ้าในอดีต
ในยุคนั้นก็มีนักประดิษฐ์และนักอุตสาห กรรมหลายคนท่ีพยายามพัฒนารถยนต์ที่ ขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า และต้องการพัฒนา เทคโนโลยีแบตเตอรี่ และการชาร์จให้ สามารถชาร์จได้เร็ว และเดินทางได้ไกลขึ้น
บริษัทท่ีผลิตรถยนต์สปอร์ด Porsche ใน ปัจจุบัน ก็เคยพัฒนารถยนต์ไฟฟ้ามาแล้ว ชื่อรุ่น P1 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1898 (พ.ศ.2441) แถมยังคิดค้นไปถึงรถยนต์ไฟฟ้าไฮบริดจ์คัน แรก ท่ีใช้เคร่ืองยนต์ทําางานร่วมกับมอเตอร์ ไฟฟ้าอีกด้วย แม้กระท่ัง โทมัส เอดิสัน (Thomas Edison) นักประดิษฐ์ช่ือก้องโลก ก็คิดจะพัฒนารถยนต์ไฟฟ้าที่ดีข้ึน รวมถึง เฮนร่ี ฟอร์ด (Henry Ford) ซึ่งเป็นเพ่ือนของ เอดสิ นั กไ็ ดท้ าํา งานรว่ มกนั เพอ่ื พฒั นารถยนต์ ไฟฟ้าราคาถูกต่อเนื่องมาจนถึงปี ค.ศ. 1914 (พ.ศ.2457)
อยา่ งไรกต็ ามจดุ เปลย่ี นและจดุ ลม่ สลาย ของรถยนต์ไฟฟ้ายุคแรกก็มาถึงในท่ีสุด เมื่อ เฮนรี่ ฟอร์ด ได้พัฒนาวิธีการผลิตรถยนต์ใน เชิงพาณิชย์ ในลักษณะการผลิตจําานวนมาก (Mass Production) ซึ่งรถยนต์ท่ีออกจาก สายพานการผลิต (Production Line) ของ ฟอร์ด ท่ีเรารู้จักดี คือ Ford Model T น่ันเอง จุดน้ถี ือเป็นการปฏิวัติอุตสาหกรรมยานยนต์ ของโลก ทําาให้รถยนต์สามารถผลิตได้ใน จาํา นวนมาก และราคาถกู โดย Ford Model T ที่ผลิตออกมาขาย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1908 (พ.ศ. 2451) หรือเม่ือ 114 ปีมาแล้วนั้น ตั้งราคา ขายไว้ที่ 650 เหรียญสหรัฐ ถือเป็นรถยนต์ ที่มีราคาถูกและคนส่วนใหญ่สามารถซื้อ
ISSUE4•VOLUME28  12                  F E B R U A R Y - A P R I L 2 0 2 2
มาเป็นเจ้าของได้ไม่ยาก เปรียบเทียบกับ รถยนต์ไฟฟ้าท่ีขายในยุคเดียวกัน จะมีราคา ขายสูงถึง 1,750 เหรียญสหรัฐ หรือแพงกว่า รถยนต์ Ford Model T ถึงเกือบ 3 เท่า ประกอบกับในช่วงเวลาดังกล่าว มีการค้น พบแหล่งนํา้ามันดิบ และก๊าซธรรมชาติที่รัฐ เท็กซัสของสหรัฐอเมริกา ทําาให้น้ําามันราคา ถูกลงมาก และสามารถขนถ่ายไปจําาหน่าย ในพื้นที่ห่างไกลได้ไม่ยากนัก ในขณะท่ีสาย ส่งไฟฟ้ายังก่อสร้างไปไม่ถึงพ้ืนที่ชนบท ส่วนใหญ่ก็ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ ย่ิงทําาให้ความ นิยมของรถยนต์เคร่ืองยนต์สันดาปภายใน พุ่งแซงหน้ารถยนต์ไฟฟ้าไปอย่างไม่เห็นฝุ่น ในเวลาไม่นาน
หลังจากนั้นมา รถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์ สันดาปภายในก็เติบโตและครองตลาด รถยนต์มาอย่างยาวนาน ส่วนผู้ผลิตรถยนต์ ไฟฟ้าในยุคนั้น ก็ต้องทยอยล้มหายตายจาก ไป จนสภาพตลาดรถยนต์ของโลกถูกครอบ ครองเบด็ เสรจ็ โดยรถยนตเ์ ครอ่ื งยนตส์ นั ดาป ภายในอย่างที่เราเห็น ทั้งค่ายรถยนต์จาก สหรัฐอเมริกา มาถึง ยุโรป ซ่ึงก็เริ่มจาก อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน สวีเดน แต่น่า แปลกใจ ที่สุดท้ายค่ายท่ีเติบโตขึ้นมาเป็นผู้ ผลิตรถยนต์รายใหญ่ของโลกกลับเป็นค่าย
         

















































































   10   11   12   13   14