Page 24 - Local fund Ubon
P. 24
18
4. การสร้างความรู้การส่งเสริมให้ครอบครัว ชุมชน และภาคีเครือข่าย ในต าบล
- กิจกรรมสร้างความรู้การสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลตนเองของมารดาหลังคลอด
- รณรงค์/ ประชาสัมพันธ์มารดาหลังคลอด ในชุมชน
- สร้างความรู้การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โดยกิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า
5. กิจกรรมทางสังคม (Social activities)
- จัดกิจกรรมแสดงความยินดีกับมารดาหลังคลอด, พิธีรับขวัญเด็กแรกเกิดตามประเพณีโบราณ, ประเพณี
โกนผมไฟ, โกนจุก, พ่อแม่บุญธรรม (ลูกนายอ าเภอ หลานนายก อบต. เป็นต้น)
- จัดกิจกรรมการอ่านหนังสือให้เด็กเล็กฟังโดยพี่นักเรียนและผู้สูงอายุในชุมชน
- จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เกิดต าบล/ ชุมชนนมแม่
ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
1. ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัวระดับหมู่บ้านเป็นที่ปรึกษาและร่วมติดตามการดูแลมารดาหลัง
คลอด และเด็ก 0-2 ปีในชุมชน
2. สรุปผลและประเมินผลเมื่อสิ้นสุดโครงการ
ระยะเวลาด าเนินการ
...................................................................................................................................................................
สถานที่ด าเนินการ
โรงพยาบาล......................../ ศูนย์สุขภาพชุมชนต าบล............ และ หมู่บ้าน............. หมู่ (เขต อบต.)
งบประมาณ
จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาล/ องค์การบริหารส่วนต าบล..............
จ านวน ............................................. บาท (........................................) เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายดังนี้
กิจกรรมด าเนินงาน
กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงกิจกรรมโครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ......บาท......คน ......มื้อ = ............บาท
- ค่าอาหารกลางวัน ......บาท .....คน ..........มื้อ = ............ บาท
- ค่าวิทยากร .........บาท .......ชั่วโมง .......คน = ............ บาท
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ = ............บาท
- ค่าวัสดุ ..........บาท.........คน....... ครั้ง = ............ บาท
รวมเงิน =................บาท
กิจกรรมที่ 2 จัดบริการดูแลมารดาหลังคลอดคุณภาพ
ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
คู่มือการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563