Page 14 - เล่มที่ 1 สรุปสาระสำคัญ RCEP
P. 14
- 10 -
การลงนามในร่างความตกลงฯ พร้อมทั้งขอให้คณะรัฐมนตรีเสนอขอความเห็นชอบต่อรัฐสภาในคราวเดียวกัน โดย
เมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามที่เสนอและให้ขอความเห็นชอบต่อรัฐสภาแล้ว กระทรวงพาณิชย์สามารถด าเนินการ
ื่
ให้มีการลงนามได้ เมื่อลงนามแล้วจึงเสนอเรื่องต่อรัฐสภาเพอพจารณาให้ความเห็นชอบ และเมื่อรัฐสภาให้ความ
ิ
เห็นชอบแล้ว จึงจะด าเนินการแสดงเจตนาให้มีผลผูกพนตามข้อ 20.6 ของร่างความตกลงฯ ได้ ทั้งนี้ เป็นไปตาม
ั
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 5 กุมภาพนธ์ 2562 เรื่อง แนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการเสนอหนังสือสัญญาตาม
ั
บทบัญญัติมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญฯ
5.3.2 ตามมาตรา 178 วรรคสี่ของของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ก าหนดให้มีกฎหมาย
ก าหนดวิธีการที่ประชาชนจะเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและได้รับการเยียวยาที่จ าเป็นอนเกิดจาก
ั
ผลกระทบของการท าหนังสือสัญญาตามมาตรา 178 วรรคสามของรัฐธรรมนูญฯ อย่างไรก็ดี ในขณะที่การจัดท า
กฎหมายดังกล่าวยังไม่แล้วเสร็จ จึงเห็นสมควรให้กระทรวงพาณิชย์ด าเนินการให้ประชาชนเข้ามาส่วนร่วมในการ
แสดงความคิดเห็นและได้รับการเยียวยาตามแนวทางที่ปฏิบัติอยู่หรือตามที่เห็นสมควร
5.3.3 กระทรวงพาณิชย์ต้องขอความเห็นชอบบุคคลที่จะเป็นผู้ลงนาม ซึ่งหากไม่ใช่นายกรัฐมนตรี
หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ต้องให้กระทรวงการต่างประเทศจัดท าหนังสือมอบอ านาจเต็ม (Full
Powers) เว้นแต่จะเป็นที่ยอมรับระหว่างคู่ภาคีว่าไม่จ าเป็นต้องแสดงหนังสือมอบอานาจเต็มก็ให้ส่วนราชการ
เจ้าของเรื่องแจ้งคณะรัฐมนตรีทราบด้วย ทั้งนี้ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2556 เรื่องหลักเกณฑ ์
และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการออกหนังสือมอบอ านาจเต็ม
5.3.4 กระทรวงการต่างประเทศจะด าเนินการจัดท าหนังสือแจ้งการมีผลใช้บังคับของร่างความตกลง
RCEP เมื่อ (1) รัฐสภาให้ความเห็นชอบร่างความตกลง RCEP และ (2) กระทรวงพาณิชย์ได้มีหนังสือแจ้งยืนยันว่า
ฝ่ายไทยได้ด าเนินกระบวนการต่าง ๆ ที่จ าเป็นส าหรับการมีผลใช้บังคับของร่างความตกลง RCEP เสร็จสิ้นแล้ว
6. สรุปสาระส าคัญของความตกลง RCEP รายบท
โครงสรางความตกลง RCEP ประกอบดวย 20 บท (17 ภาคผนวกแนบทายบท) คือ อารัมภบท
้
้
้
(1) บทบัญญัติเบื้องต้นและค านิยามทั่วไป (2) การค้าสินค้า (3) กฎถิ่นก าเนิดสินค้า (4) พิธีการศุลกากรและการ
ิ
อ านวยความสะดวกทางการค้า (5) มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพช (6) มาตรฐาน กฎระเบยบทางเทคนค
ี
ื
และกระบวนการตรวจสอบและรับรอง (7) การเยียวยาทางการค้า (8) การค้าบริการ (9) การเคลื่อนย้ายชั่วคราว
ของบุคคลธรรมดา (10) การลงทุน (11) ทรัพย์สินทางปัญญา (12) พาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ (13) การแข่งขัน
ิ
ิ
่
่
ิ
ทางการคา (14) ความรวมมือทางเศรษฐกจและวิชาการ (15) วิสาหกจขนาดกลางและขนาดยอม (16) การ
้
จัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ (17) บทบัญญัติทั่วไปและข้อยกเว้น (18) บทบัญญัติเกี่ยวกับสถาบัน (19) การระงับข้อ
้
พิพาท (20) บทบัญญัติสุดท้าย และ 4 ภาคผนวกแนบท้ายความตกลง คือ ภาคผนวก 1 ตารางขอผกพนทาง
ั
ู
ู
ั
ภาษี ภาคผนวก 2 ตารางขอผกพนเฉพาะส าหรับบริการ ภาคผนวก 3 ตารางข้อสงวนและมาตรการที่ไม่
้
ุ
ั
ู
สอดคล้องกับพนธกรณีส าหรับบริการและการลงทน และภาคผนวก 4 ตารางขอผกพนเฉพาะในการเคลื่อนย้าย
้
ั
ชั่วคราวของบุคคลธรรมดา
อารัมภบท
ิ
ความตกลง RCEP ซึ่งได้มีการประกาศเริ่มเจรจาเมื่อวันที่ 20 พฤศจกายน 2555 เป็นความตกลงที่มุ่ง
้
ิ
ิ
ิ
ิ
ให้เกิดการรวมตัวทางเศรษฐกจในภูมภาคที่กว้างและลกยิ่งขึ้น เสรมสรางการเจรญเติบโตและการพัฒนาทาง
ึ
เศรษฐกิจอย่างเท่าเทียม และพัฒนาความร่วมมือบนความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจที่มีอยู่ระหว่างภาคี โดยจะมีการ
ื
่
่
ี
กาหนดกฎระเบียบทชัดเจนเพออานวยความสะดวกทางการค้าและการลงทน ซึ่งค านึงถึงระดับของการพฒนาที่
ุ
ั
ี
ู
แตกต่างกันระหว่างภาคี การได้รับการปฏิบัติที่พิเศษและแตกต่าง โดยเฉพาะกับกัมพชา สปป. ลาว เมยนมา และ
ั
เวียดนาม ในระดบที่เหมาะสม รวมถึงความยืดหยุ่นเพมเติมส าหรับภาคีที่เป็นประเทศพฒนาน้อยที่สุด โดยให้
ั
ิ่
ความส าคัญกับการมธรรมาภิบาลที่ดีและการสร้างสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่โปร่งใสและมั่นคง รวมถึงสิทธิของ
ี
ภาคีที่จะออกกฎระเบียบเพื่อวัตถุประสงค์สาธารณะ