Page 18 - เล่มที่ 1 สรุปสาระสำคัญ RCEP
P. 18
- 14 -
ุ
ื
ื
4.10 ก าหนดให้มีจุดตอบข้อซักถาม (enquiry point) จ านวน 1 จด หรอมากกว่า เพ่อตอบค าถามผู้ที่
สนใจและอ านวยความสะดวกในการเข้าถึงเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ุ
ู
ั
4.11 ให้มีระยะเวลาปรับตัวในการปฏิบัติตามบางพนธกรณี ส าหรับบรไนดารสซาลาม กัมพชา จีน
ู
อินโดนีเซีย สปป.ลาว มาเลเซีย เมียนมา และเวียดนาม ตามที่ระบุไว้ในภาคผนวก 4 เอ (ระยะเวลาในการปฏิบัต ิ
ตามพันธกรณี)
บทที่ 5 มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช
บทมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช ประกอบด้วย 17 ข้อบท
ั
5.1 ยืนยันถึงสิทธิและพนธกรณีภายใต้ความตกลงว่าด้วยการใช้บังคับมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัย
พืช (Agreement on the Application of Sanitary and Phytosanitary Measures: SPS) ภายใต WTO
้
5.2 ส่งเสริมให้มีความร่วมมือในการยอมรับมาตรการที่เท่าเทียมกัน
5.3 ส่งเสริมให้มีความร่วมมือในด้านต่าง ๆ อาทิ หลักการการปรับให้เข้ากับสภาพของภูมิภาค รวมทั้ง
่
ื้
์
ี
ื
ื้
ื
พนที่ปลอดศัตรูพชหรือโรค และพนที่ที่มีความแพร่หลายของศัตรูพชหรือโรคต่ า การวิเคราะหความเสยงต้อง
สอดคลองกับความตกลง SPS โดยมิให้กระทบต่อมาตรการฉุกเฉิน ภาคีทุกประเทศต้องไม่ระงับการน าเข้าสินค้า
้
ี
ี
ของภาคีอกฝ่าย ด้วยเหตุผลเพยงว่าภาคีผู้น าเข้าก าลังทบทวนมาตรการ SPS ของตนอยู่ หากภาคีผู้น าเข้าได้
อนุญาตให้มีการน าเข้าสินค้าดังกล่าวแล้วจากภาคีอื่นเมื่อขณะที่เริ่มการทบทวนมาตรการดังกล่าว
ิ
้
ิ
ื
ุ
ิ
5.4 การตรวจสอบตองดาเนนการเปนระบบ และดาเนินการเพอประเมนประสทธิภาพในการควบคม
็
่
ก ากับดูแลของหน่วยงานผู้มีอานาจ และต้องให้โอกาสภาคีผู้ส่งออกในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการ
ตรวจสอบ และน าข้อคิดเห็นดังกล่าวมาพิจารณาก่อนท าการสรุปและด าเนินการใด ๆ
5.5 ก าหนดการออกใบรับรองที่แสดงให้เห็นถึงข้อก าหนดด้านสุขอนามัยของภาคีผู้น าเข้าและออกโดย
หน่วยงานผู้มีอ านาจของภาคีผู้ส่งออกเป็นภาษาอังกฤษ
5.6 การตรวจสอบการนาเขาต้องอยบนพนฐานความเสยงด้าน SPS ที่เกี่ยวกับการน าเข้า โดยเป็นไป
่
้
ู
้
่
ื
ี
ตามระเบียบข้อบังคับและกฎหมายของภาคีผู้น าเข้า ผลการตัดสินหรือการด าเนินการสุดท้ายที่เกี่ยวกับการน าเข้า
ของสินค้าที่ไม่เป็นไปตามข้อก าหนดของภาคีผู้น าเข้าต้องมีความเหมาะสมต่อความเสี่ยงด้าน SPS
ุ
ึ
5.7 ก าหนดให้มีการทบทวนมาตรการฉุกเฉินภายในช่วงระยะเวลาที่สมเหตสมผล รวมถงการ
ื้
แลกเปลี่ยนข้อมูลเพอช่วยในการทบทวนมาตรการฉุกเฉินดังกล่าว โดยอยู่บนพนฐานข้อมูลล่าสุดที่สามารถหาได้
ื่
และต้องสามารถอธิบายเหตุผลของการยังคงใช้มาตรการฉุกเฉินนั้นต่อไป หากมีการร้องขอ
5.8 ในการแจ้งมาตรการ SPS ต้องเปิดโอกาสให้ภาคีได้ให้ข้อคิดเห็นเป็นลายลักษณ์อกษรอย่างน้อย 60
ั
วัน หลังจากด าเนินการแจ้งมาตรการ หากมีการร้องขอ ต้องให้เอกสารหรือสรุปเอกสารที่อธิบายข้อก าหนดของ
ร่างมาตรการ SPS ที่แจ้งต่อองค์การการค้าโลกเป็นภาษาอังกฤษแก่ภาคีที่ร้องขอ ภายใน 30 วัน
ุ
5.9 สนบสนนความรวมมอระหว่างหนวยงานของภาคีในการแบ่งปันแลกเปลี่ยนข้อมูลและประสบการณ์
ื
่
ั
่
ความร่วมมือในสาขาที่มีความสนใจร่วมกัน การยกระดับความร่วมมือในการพัฒนาและปรับปรุงมาตรการ SPS ระหว่างกัน
ื่
5.10 ให้มีการก าหนดจุดติดต่อ (contact point) เพออานวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร จ านวน 1
จุด หรือมากกว่า และแจ้งภาคีอนทราบ ภายใน 30 วันนับตั้งแต่วันที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ อกทงจะต้องแจ้ง
ี
ื่
ั้
ี
ี
รายละเอยดของหน่วยงานผู้มีอานาจ ผ่านจุดติดต่อดังกล่าว ทั้งนี้ จะต้องแจ้งหากมการเปลี่ยนแปลงจุดติดต่อและ
หน่วยงานผู้มีอ านาจ รวมถึงปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ
ิ
5.11 จะไม่มีการน าบทการระงับข้อพพาทมาใช้กับบทนี้ จะมีการทบทวนหลังความตกลงมีผลใช้บังคับ
แล้ว 2 ปี โดยในระหว่างการทบทวนจะมีการพิจารณาน าบทการระงับข้อพพาทมาใช้กับทั้งหมดหรือบางส่วนของ
ิ
บทนี้ การทบทวนจะต้องแล้วเสร็จภายใน 3 ปีนับจากวันที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ โดยจะมีการบังคับใช้กับภาคี
ื่
ที่มีความพร้อม ส าหรับภาคีที่ยังไม่มีความพร้อม จะหารือกับภาคีอนและอาจมีการน ามาบังคับใช้เมื่อเข้าร่วมเป็น
ภาคีอื่นที่มีพันธกรณีที่คล้ายคลึงกัน