Page 3 - 1. คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
P. 3
- 3 -
ั
ในกรณีศาลเข้าร่วมกับส านักงานพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดในวัน เวลา
และสถานที่ซึ่งส านักงานพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดจัดประชุมอาสาสมัครพฒนาสังคม
ั
ั
และความมั่นคงของมนุษย์ ให้ศาลติดต่อประสานกับส านักงานพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
ั
ั
เพอทราบวัน เวลา และสถานที่ดังกล่าว ส าหรับจัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครพฒนาสังคมและความมั่นคง
ื่
ของมนุษยในคราวเดียวกัน
์
๔) นอกจากผู้ก ากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวในกรณีก านัน ผู้ใหญ่บ้าน และอาสาสมัคร
ั
พฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ซึ่งท าหน้าที่สอดส่องดูแลหรือรับรายงานตัวผู้ถูกปล่อยชั่วคราว
5
ตามที่กล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีผู้ก ากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวที่มีหน้าที่ให้ค าปรึกษา ได้แก่ นักจิตวิทยา
นักสังคมสงเคราะห์ จิตแพทย์ของหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน และผู้มีอาชีพดังกล่าวที่เกษียณอายุแล้ว
ซึ่งบุคคลเหล่านี้ไม่ต้องผ่านการอบรม เพราะเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ในการให้ค าปรึกษา
อยู่แล้ว กับบุคคลที่ผ่านการอบรมการให้ค าปรึกษาทางจิตสังคมตามหลักสูตรที่ส านักงานศาลยุติธรรม
6
จัดหรือรับรอง .นอกจากนี้ มีหน่วยงานที่มีผู้ให้ค าปรึกษาทางจิตสังคม เช่น กระทรวงการพฒนาสังคม
ั
ั
และความมั่นคงของมนุษย์ หรือในภูมิภาค ได้แก่ ส านักงานพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
เป็นต้น ดังนี้ ศาลอาจจัดท าทะเบียนผู้ก ากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวประจ าศาลที่มีหน้าที่ให้ค าปรึกษา
ตามวิธีการด าเนินงานที่กล่าวมาข้างต้นด้วยก็ได้
๒. การแต่งตั้งผู้ก ากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวตามค าสั่งศาล
๑) เมื่อผู้ต้องหา จ าเลย หรือผู้มีประโยชน์เกี่ยวข้องได้ยื่นค าร้องขอปล่อยชั่วคราว หากศาล
มีค าสั่งอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวโดยก าหนดเงื่อนไขให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิบัติเพอป้องกันการหลบหนี
ื่
หรือภัยอันตรายหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นตามมาตรา ๑๐๘ วรรคสาม แห่งประมวลกีหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา และเห็นว่ามีความจ าเป็นต้องมีบุคคลก ากับดูแลให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิบัติตามเงื่อนไข
ที่ศาลก าหนด ศาลอาจมีค าสั่งแต่งตั้งบุคคลใดที่มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามระเบียบฯ
เป็นผู้ก ากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว ทั้งในกรณีที่เป็นการปล่อยชั่วคราวโดยไม่มีประกัน มีประกัน หรือมีประกัน
และหลักประกัน โดยเงื่อนไขที่ศาลอาจก าหนดให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิบัติ ตามค าแนะน าของประธานศาลีีกา
ว่าด้วยการใช้มาตรการก ากับดูแลในระหว่างปล่อยชั่วคราว พ.ศ. ๒๕๖๔ เช่น
5
การประชุมคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม ครั้งที่ ๖/๒๕๖๓ เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๓ มีมติเห็นชอบกับความเห็นของคณะอนุกรรมการ
กลั่นกรองเรื่องเสนอคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม คณะที่ ๓ (ฝ่ายกีหมาย) ว่า ไม่สมควรแต่งตั้งนักจิตวิทยาประจ าศาลเป็นผู้ก ากับดูแล
ผู้ถูกปล่อยชั่วคราว ไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ในศาลต้นสังกัดหรือในศาลอื่นก็ตาม เนื่องจากภารกิจหน้าที่ดังกล่าวไม่เหมาะสมที่จะ
ึ่
มอบหมายให้แก่ข้าราชการศาลยุติธรรมซงมีภารกิจหน้าที่ตามต าแหน่งงานประจ าในศาลยุติธรรมอยู่แล้ว เพราะอาจสร้างความเสียหายหรือส่งผล
กระทบต่อการปฏิบัติงานประจ าได้ และขาดคุณสมบัติทางด้านความเหมาะสมที่จะปฏิบัติหน้าที่ผู้ก ากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวตามข้อ ๕ (๒)
6
ส านักงานศาลยุติธรรมได้ลงนามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระบบการให้คาปรึกษาทางจิตสังคมแก่ผู้ต้องหาคดียาเสพติด
ุ
และคดีความรุนแรงในครอบครัวในระบบศาลกับหน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ กรมสุขภาพจิต กรมคมประพฤติ ส านักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และส านักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) พัฒนาหลักสูตร
“การอบรมการให้ค าปรึกษาทางจิตสังคม” โดยมีส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เป็นผู้จัดการอบรม โดยใช้วิทยากรจาก
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข โดยผู้เข้ารับการอบรมต้องผ่านการทดสอบจึงจะได้รับประกาศนียบัตร ปัจจุบันมีศาลยุติธรรมบางแห่งได้ด าเนิน
โครงการคลินิกการให้คาปรึกษาด้านจิตสังคม เช่น ศาลอาญาธนบุรี ศาลจังหวัดนนทบุรี ศาลจังหวัดเชียงใหม่ ศาลจังหวัดปทุมธานี ศาลอาญาตลิ่งชัน
ศาลอาญากรุงเทพใต้ เป็นต้น ซงส านักงานศาลยุติธรรมได้รับรองหลักสูตรดังกล่าวแล้ว ดังนั้น ผู้ให้คาปรึกษาทางจิตสังคมที่ผ่านการอบรมและได้ขึ้นทะเบียน
ึ่
กับศาลดังกล่าว สามารถท าหน้าที่ให้คาปรึกษาทางจิตสังคมได้ และศาลยุติธรรมอื่นที่ไม่ได้จัดให้มีโครงการคลินิกการให้คาปรึกษาทางจิตสังคม
สามารถขอใช้บัญชีผู้ผ่านการอบรมและขึ้นทะเบียนเป็นผู้ให้คาปรึกษากับศาลดังกล่าวได้ โดยถือว่าเป็นผู้สมัครใจ มีความพร้อมและเหมาะสมที่จะ
ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ศาลมอบหมาย