Page 13 - คู่มือการขับเคลื่อนนวัตกรรม D-Court สู่ Smart Court
P. 13

11


                                     นวัตกรรมวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์


               1. ชื่อนวัตกรรม

                       1.1 วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์


                       1.2 การนั่งพิจารณาคดีออนไลน์

               2. วันเริ่มต้นการใช้นวัตกรรม

                       นับถัดจากวันประกาศใช้ข้อก าหนดของประธานศาลฎีกา ว่าด้วยวิธีพจารณาคดีทาง
                                                                                           ิ
               อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๓ (1 ตุลาคม 2563) และด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
                                                                                           ิ
                                                           :
               ไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease    COVID-1 9 ) ท าให้มีการใช้วิธีพจารณาคดีทาง
               อิเล็กทรอนิกส์ผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ มากยิ่งขึ้น


               ๓. ความหมาย/ลักษณะของนวัตกรรม

                           ิ
                       วิธีพจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ คือ การพจารณาคดีโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
                                                                 ิ
               มาสนับสนุน ซึ่งหมายถึง กระบวนการทุกอย่างที่ศาลด าเนินการ หรือที่คู่ความด าเนินการต่อศาล หรือ
               คู่ความด าเนินการต่อคู่ความด้วยกันเอง โดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์ อีเมล แฟกซ์
               อินเทอร์เน็ต มาสนับสนุนในการด าเนินการ ถือเป็นการพิจารณาคดีโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งสิ้น

                                                                                             ิ่
                       ศาลยุติธรรมเริ่มเข้าสู่ระบบศาลอิเล็กทรอนิกส์ นับแต่มีพระราชบัญญัติแก้ไขเพมเติมประมวล
               กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ๒๘) พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
               ความแพง มาตรา ๓๔/๑ มาตรา ๕๑ วรรคสอง และมาตรา ๖๘ ให้ประธานศาลฎีกามีอ านาจออก
                       ่
               ข้อก าหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา เพื่อเป็นอนุบัญญัติ หรือข้อก าหนดกลางก าหนด

               หลักการรองรับให้การด าเนินกระบวนพจารณาของศาลในทุกขั้นตอน นับตั้งแต่การฟอง คดีการยื่นและ
                                                  ิ
                                                                                          ้
                                                                                               ิ
               ส่งค าคู่ความและเอกสาร การแจ้งค าสั่งของศาล การจัดท าสารบบความหรือสารบบค าพพากษาการ
                                   ั
               สืบพยานและการรับฟงพยานหลักฐาน การวินิจฉัยคดี การด าเนินกระบวนพจารณาใด ๆ สามารถการ
                                                                                   ิ
               พจารณาพพากษาคดีและการให้บริการประชาชนผู้มีอรรถคดีเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็ว
                          ิ
                 ิ
                                                                                                    ื่
                                                                                                        ิ่
               ด าเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือกระท าในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพอเพม
               ประสิทธิภาพให้การพจารณาพพากษาคดีและการให้บริการประชาชนผู้มีอรรถคดีเป็นไปด้วยความ
                                   ิ
                                            ิ
               สะดวกรวดเร็ว
                                                                                                ้
                                  ิ
                       ดังนั้น การพจารณาจึงรวมกระบวนพจารณาทั้งหมด ตั้งแต่มีคดีเกิดขึ้นและยื่นฟองต่อศาล
                                                         ิ
               การกระท าทุกอย่างหลังจากนั้นไม่ว่าจะเป็นคู่ความกระท าต่อคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง หรือคู่ความกระท าต่อศาล
                                                                   ้
               หรือศาลกระท าต่อคู่ความ รวมถึงการยื่น ส่ง และรับ ค าฟอง ค าคู่ความ ค าให้การและเอกสารต่าง ๆ
               ยังรวมถึงการนั่งพิจารณาคดี เช่น ชี้สองสถาน สืบพยาน ท าการไต่สวน ฟังค าขอต่าง ๆและฟังค าแถลงการณ์
               ด้วยวาจา ซึ่งถ้าการพจารณากระท าโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ก็จะหมายถึงวิธีพจารณาคดีทาง
                                   ิ
                                                                                            ิ
               อิเล็กทรอนิกส์
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18