Page 18 - คู่มือการขับเคลื่อนนวัตกรรม D-Court สู่ Smart Court
P. 18
16
การไกล่เกลี่ยออนไลน์
1.วันที่เริ่มใช้ 11 กุมภาพันธ์ 2563 เริ่มมีการจัดท าระบบและการรายงานสถิติการไกล่เกลี่ยออนไลน์
ล2.ความหมาย/ลักษณะของนวัตกรรม
เป็นการน าเทคโนโลยี เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ แท็ปเล็ต เป็นต้น มาใช้เป็นทางเลือกในการไกล่
ิ
เกลี่ยข้อพพาท แทนการไกล่เกลี่ยในห้องพจารณาของศาลโดยการสร้างห้องสนทนาในรูปแบบ Line
ิ
ZOOM เป็นต้น เพื่อให้คู่กรณีและผู้ท าหน้าที่ในการไกล่เกลี่ยใช้เป็นช่องทางในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
3.วิธีการใช้งาน/ขั้นตอนการใช้งานนวัตกรรม
เมื่อคู่กรณีแจ้งความประสงค์เข้าร่วมการไกล่เกลี่ยไม่ว่าจะแจ้งผ่าน QR Code หรือยื่นความ
ประสงค์ผ่านระบบ CIOS e -Filingเจ้าหน้าที่ศูนย์ไกล่เกลี่ยท าการประสานคู่กรณีทั้งสองฝ่ายว่าสะดวกที่จะ
ใช้ระบบการไกล่เกลี่ยในรูปแบบใด เช่น Line ZOOM Google Meet เป็นต้น จากนั้นเจ้าหน้าที่จะท าการ
เชิญคู่กรณีเข้าสู่ระบบที่เลือกไว้ พร้อมเชิญผู้ไกล่เกลี่ยเข้าสู่ระบบ เพื่อท าการไกล่เกลี่ย ตลอดจนมีการท า
บันทึกข้อตกลง
4.นวัตกรรมสามารถท าอะไรได้บ้าง
1.ท าให้คู่กรณีไม่ต้องเดินทางไปศาล ก่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว และประหยัดค่าใช้จ่าย
2. ท าให้ลดปริมาณคดีที่จะเข้าสู่การพิจารณาของศาล
5.กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับฯ
1.หนังสือส านักงานศาลยุติธรรมที่ ศย 025/ว 24 (ป) ลงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2563
2.หนังสือส านักงานศาลยุติธรรมที่ ศย 025/ว 95 (ป) ลงวันที่ 22 เมษายน 2563 (เพิ่มเติม)
6.ปัญหาข้อขัดข้อง
1.เจ้าหน้าที่ศูนย์ไกล่เกลี่ยต้องใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ส่วนตัวในการด าเนินการท าให้ไม่ได้รับความ
สะดวก และความเป็นส่วนตัว
2.ประชาชนบางพื้นที่ไม่สะดวกที่จะใช้วิธีการออนไลน์
3.ประชาชนบางส่วนยังไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้อย่างเต็มที่
7.แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ
1.ส านักส่งเสริมงานตุลาการด าเนินการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท โดยการ
จัดสรรโทรศัพท์เคลื่อนที่ให้แก่ศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทประจ าศาลแล้ว
2.ด าเนินการรณรงค์ให้มีการเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจ และประโยชน์ของการไกล่เกลี่ย
ออนไลน์ให้แก่ประชาชนผ่านทางศูนย์ไกล่เกลี่ยทั่วประเทศ