Page 22 - คู่มือการขับเคลื่อนนวัตกรรม D-Court สู่ Smart Court
P. 22
20
การอ่านค าพิพากษาหรือค าสั่งศาลชั้นต้นในลักษณะการประชุมทางจอภาพ
1.วันเริ่มต้นการใช้งานนวัตกรรม : 29 มกราคม 2563
.2.ความหมาย/ลักษณะของนวัตกรรม
เป็นการด าเนินการอ่านค าพิพากษาหรือค าสั่งของศาลชั้นต้นผ่านระบบการประชุมทางจอภาพ
ิ
ิ
ระหว่าง ศาลต้นทาง(ศาลชั้นต้นที่มีอ านาจพจารณาพพากษาคดี) ไปยัง ศาลปลายทาง(ศาลจังหวัดที่เรือนจ า
ซึ่งจ าเลยถูกคุมขังตั้งอยู่ในเขตอ านาจ และรวมถึงศาลที่มีอ านาจพจารณาคดีอาญาหรือศาลจังหวัดที่อยู่
ิ
ใกล้เรือนจ าที่จ าเลยถูกคุมขังอยู่มากที่สุดกรณีที่ไม่ใช่เรือนจ าประจ าจังหวัด) หรือเรือนจ าที่จ าเลย
ถูกคุมขังอยู่ในระหว่างพิจารณา
3.วิธีการใช้งาน/ขั้นตอนการใช้งานนวัตกรรม
กรณีคดีอาญาบางคดีที่มีจ าเลยหลายคน และแต่ละคนต้องขังขังอยู่ในเรือนจ าคนละแห่งและอยู่
ั
ิ
นอกเขตอ านาจของศาลเจ้าของส านวน ท าให้การอ่านค าพพากษาให้จ าเลยแต่ละคนฟงไม่พร้อมกัน ดังนั้น
เพื่อให้การอ่านค าพิพากษาหรือค าสั่งให้จ าเลยแต่ละคนฟังพร้อมกัน จึงมีวิธีด าเนินการดังนี้
ิ
- อ่านค าพพากษาหรือค าสั่งศาลชั้นต้นในลักษณะการประชุมทางจอภาพระหว่างศาลเจ้าของส านวน
กับเรือนจ าที่จ าเลยแต่ละคนที่ถูกต้องขัง
- อ่านค าพพากษาหรือค าสั่งศาลชั้นต้นในลักษณะการประชุมทางจอภาพระหว่างศาลเจ้าของ
ิ
ส านวน ไปยังศาลปลายทาง
-อ่านค าพิพากษาหรือค าสั่งศาลชั้นต้นในลักษณะการประชุมทางจอภาพระหว่างศาลเจ้าของส านวน
ไปยังเรือนจ าที่จ าเลยต้องขังมากที่สุดส าหรับกรณีที่จ าเลยมิได้ต้องขังที่เรือนจ าประจ าจังหวัด
4.นวัตกรรมสามารถท าอะไรได้บ้าง
ท าให้ในคดีอาญาที่มีจ าเลยหลายคนและต้องขังอยู่คนละเรือนจ าได้รับสิทธิจากผลของการอ่าน
ค าพิพากษาและค าสั่งของศาลชั้นต้นพร้อมกัน
- ท าให้ลดการเบิกตัวจ าเลยมาศาล ลดการใช้เครื่องพนธนาการ และลดความเสี่ยง ในการ
ั
หลบหนีเมื่อมีการควบคุมจ าเลยมาศาล
- ท าให้จ าเลยและคู่ความสามารถเข้าถึงการอ านวยความยุติธรรมได้อย่างสะดวก รวดเร็ว
5.กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับฯ
1. แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการอ่านค าพิพากษาหรือค าสั่งของศาลชั้นต้นในลักษณะการประชุม
ทางจอภาพ(ตามหนังสือ ที่ ศย 025/ว 72 ลงวันที่ 29 มกราคม 2563
2. ระเบียบราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม ว่าด้วยการอ่านค าพพากษาหรือค าสั่งของศาลสูง
ิ
ในลักษณะการประชุมทางจอภาพ พ.ศ. 2562