Page 17 - คู่มือการขับเคลื่อนนวัตกรรม D-Court สู่ Smart Court
P. 17
15
๘. ตัวอย่างอินโฟกราฟิกที่ที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาคดีอิเล็กทรอนิกส์ สามารถดูรายละเอียดได้ตาม
ลิงก์นี้ https://drive.google.com/drive/folders/1WHQC4Rl9fvm6eI5XnKnWxrgzaaucHqPm
หรือ สแกน QR Code
๙. ปัญหาข้อขัดข้องการขับเคลื่อนนวัตกรรม
์
๙.1 ศาลที่ใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสผ่านแอปพลิเคชัน (ออนไลน์) ยังไม่มีแนวทางการ
ด าเนินงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และต้องการแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนในการท างาน เช่น การใช้งาน
ผ่านระบบใด รูปแบบการประชุมออนไลน์ สิ่งที่กระท าได้หรือห้ามกระท า การลงลายมือชื่อในเอกสาร
สัญญา หรือกระบวนพิจารณาต่างๆ
๙.2 ศาลชั้นต้นไม่มีความพร้อมด้านวัสดุอุปกรณ์ที่จ าเป็นส าหรับการพจารณาคดีทาง
ิ
อิเล็กทรอนิกส์ผ่านแอปพลิเคชัน (ออนไลน์)
๙.3 ทนายความ คู่ความ พยานและผู้ที่เกี่ยวข้องในคดี ขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้วิธี
พิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
๑๐. แนวทางการแก้ไขและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการขับเคลื่อนนวัตกรรม
ิ
10.1 จัดท าคู่มือการใช้วิธีพจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์และค าอธิบายการใช้วิธีพจารณาคดี
ิ
ิ
ทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยคณะท างานนิเทศ ติดตาม ส่งเสริม และสนับสนุนการพจารณาคดีทาง
อิเล็กทรอนิกส์ในศาลชั้นต้น
10.2 ขออนุมัติจัดสรรงบประมาณในการจัดซื้อจัดจ้างวัสดุอุปกรณ์ที่จ าเป็นส าหรับการ
พจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านแอปพลิเคชัน (ออนไลน์) ให้แก่ศาลชั้นต้นทั่วประเทศ และได้รับ
ิ
อนุมัติงบประมาณจากคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมเรียบร้อยแล้ว
10.3 มีหนังสือแจ้งศาลชั้นต้นทั่วประเทศให้ด าเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการ ติดตาม ส่งเสริม
และสนับสนุนการพจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ในศาลชั้นต้น และแจ้งแนวทางการเตรียมความพร้อม
ิ
การจัดวางระบบส าหรับการพจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ ด้านอุปกรณ์ ด้านบุคลากร และด้านการ
ิ
ประสานงาน
10.4 จัดอบรมหลักสูตรการพจารณาคดีออนไลน์ส าหรับเจ้าหน้าที่หน้าบัลลังก์ นักวิชาการ
ิ
คอมพิวเตอร์ และทนายความ
ั
ิ
10.5 จัดท าสื่อประชาสัมพนธ์เพอเผยแพร่ เช่น คลิปวิดีโอ อินโฟกราฟก และเว็บไซต์
ื่
smartcourtroom.coj.go.th