Page 36 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 36
23
กติกาในการไกล่เกลี ยข้อพิพาท
1. คู่ความจะต้องสมัครใจและเต็มใจจะใช้ระบบนี ทั ง ฝ่าย
2. ในการไกล่เกลี ย คู่พิพาทต้องเจรจากันด้วยความสุภาพ ไม่ใช้วาจาหรือกิริยาก้าวร้าวต่อกัน
3. หากมีการยกเลิกการเจรจา ข้อเท็จจริงที มีการเจรจาไปแล้วจะไม่ผูกมัดคู่ความในภายหลัง และ
จะไม่สามารถนําไปใช้อ้างอิงในกระบวนพิจารณาคดีของศาลได้
4. ข้อตกลงที จะทําสัญญาประนีประนอมยอมความนั น คู่ความทั ง 2 ฝ่ายจะต้องพึงพอใจ
5. ก่อนที จะมีการพิพากษาตามยอม ผู้พิพากษาต้องพิจารณาก่อนว่าสัญญาประนีประนอมยอมความ
นั นไม่ขัดต่อกฎหมาย
วิธีการเข้าสู่ระบบไกล่เกลี ยข้อพิพาทในศาล
1. คดีฟ้องใหม่ เมื อโจทก์ยื นฟ้อง เจ้าหน้าที แผนกรับฟ้องจะมีการสอบถามความสมัครใจของคู่ความ
ว่าคดีดังกล่าวมีทางตกลงกันได้หรือไม่ และประสงค์จะให้ศาลไกล่เกลี ยข้อพิพาทหรือไม่ นอกจากนี
หมายเรียกที ส่งให้แก่จําเลยพร้อมสําเนาคําฟ้อง ก็จะมีการระบุว่า โปรดยื นคําให้การภายใน
กําหนดเวลาที กฎหมายกําหนด หากจําเลยประสงค์จะให้ศาลไกล่เกลี ยประนีประนอม ยอม
ความ ให้ติดต่อศูนย์ไกล่เกลี ยประจําศาลตามหมายเลขโทรศัพท์ที ระบุไว้
2. คดีที อยู่ระหว่างพิจารณา แยกเป็น 3 กรณี คือ
- ผู้พิพากษาซึ งรับผิดชอบราชการศาล เห็นว่าสํานวนใดควรใช้ระบบไกล่เกลี ยก็สั งให้นําคดีนั น
เข้าสู่ระบบไกล่เกลี ย
- ผู้พิพากษาเจ้าของสํานวนเห็นว่าสมควรใช้ระบบไกล่เกลี ย ก็ส่งเข้าสู่ระบบไกล่เกลี ย
- คู่ความยื นคําแถลงหรือแถลงด้วยวาจาขอใช้วิธีการไกล่เกลี ย และผู้พิพากษาเจ้าของสํานวน
เห็นควรจึงส่งสํานวนเข้าสู่ระบบไกล่เกลี ย