Page 31 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 31
18
กฎหมายบัญญัติรับรองให้มีสถานะเป็นนิติบุคคล ดังนั น จึงไม่อาจเป็นโจทก์ฟ้องหรืออาจ ถูกฟ้องเป็น
จําเลยได้
การยื นอุทธรณ์หรือฎีกาคําพิพากษา ทําอย่างไร
เมื อศาลชั นต้นมีคําพิพากษาแล้ว คู่ความที ไม่พอใจ อาจอุทธรณ์คําพิพากษาศาลชั นต้นต่อศาล
อุทธรณ์ได้ หรือเมื อศาลอุทธรณ์มีคําพิพากษาแล้ว คู่ความที ไม่พอใจอาจฎีกาคําพิพากษาศาลอุทธรณ์ต่อ
ศาลฎีกาได้ ตามหลักเกณฑ์ที กฎหมายกําหนด เช่น ในคดีแพ่ง ตามปกติจะอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง
ได้เฉพาะในกรณีที คดีมีทุนทรัพย์ที พิพาทในชั นอุทธรณ์ไม่เกิน 50,000 บาท และจะฎีกาได้เฉพาะในกรณีที
คดีมีทุนทรัพย์ที พิพาทในชั นฎีกาเกิน 200,000 บาท เป็นต้น คู่ความที ประสงค์จะอุทธรณ์หรือฎีกาจะต้อง
ยื นอุทธรณ์หรือฎีกาต่อศาลที พิจารณาพิพากษาคดีนั นในชั นต้นภายใน 1 เดือน นับแต่วันที ศาลได้อ่าน
คําพิพากษาศาลชั นต้นหรือศาลอุทธรณ์ แล้วแต่กรณี นอกจากนี ในคดีอาญา หากจําเลยถูกจําคุกอยู่ใน
เรือนจํา จําเลยอาจยื นอุทธรณ์หรือฎีกาต่อพัศดีเรือนจําภายในกําหนดอายุอุทธรณ์หรือฎีกา เพื อให้พัศดีส่ง
ต่อให้ศาลชั นต้น หรือให้ทนายความของจําเลยยื นอุทธรณ์หรือฎีกาต่อศาลแทนตนก็ได้