Page 30 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 30
17
2) สําหรับจังหวัดอื นนอกจากกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ศาลจังหวัดและศาลแขวง
ศาลจังหวัด มีอํานาจทั วไปที จะรับฟ้องคดีได้ทุกประเภท ทั งคดีแพ่งและคดีอาญาทั วไป
ศาลแขวง มีอํานาจในการรับฟ้องคดีอาญาที เป็นความผิดเล็กน้อย ซึ งกฎหมายกําหนดอัตรา
โทษอย่างสูงไว้ให้จําคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั งจําทั งปรับ และ
คดีแพ่งที มีทุนทรัพย์พิพาทไม่สูง โดยมีราคาทรัพย์สินที พิพาทหรือจํานวนเงินที ฟ้องไม่เกิน
300,000 บาท
ผู้ที จะฟ้องคดีได้มีใครบ้าง
ต้องเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล
บุคคลธรรมดา ผู้ที มีสภาพบุคคลมีสิทธิและหน้าที ตามกฎหมาย จึงอาจเป็นโจทก์ฟ้องหรือถูกฟ้อง
เป็นจําเลยก็ได้
ผู้เยาว์ ถ้าจะฟ้องคดีอาจแยกเป็น 2 กรณี คือ กรณีผู้แทนโดยชอบธรรมฟ้องคดีแทนผู้เยาว์
หรือกรณีผู้เยาว์ฟ้องคดีเอง ซึ งต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน
นิติบุคคล เป็นบุคคลที กฎหมายสมมุติขึ นให้มีสิทธิและหน้าที เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา
โดยยกเว้นสิทธิและหน้าที บางประการที นิติบุคคลจะมีอย่างบุคคลธรรมดาไม่ได้ การจะเป็นนิติบุคคลได้ต้อง
มีกฎหมายบัญญัติรองรับไว้ นิติบุคคล ได้แก่ บริษัทมหาชนจํากัด บริษัทจํากัด ห้างหุ้นส่วนจํากัด
ห้างหุ้นส่วนสามัญ สมาคม มูลนิธิ วัดที ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา หน่วยราชการ (กระทรวง ทบวง
กรม) รัฐวิสาหกิจ มหาวิทยาลัย จังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตําบล กองบัญชาการทหารสูงสุด
กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ เป็นต้น ส่วนสิ งที ไม่มีสภาพเป็นนิติบุคคล เช่น รัฐบาล กลุ่มหรือ
คณะบุคคล กองมรดก หน่วยราชการที มีฐานะเป็นกอง สํานักสงฆ์ สุเหร่า อําเภอ ชมรม เป็นต้น ไม่มี