Page 27 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 27
14
การเบิกความ คืออะไร
การที บุคคลไปให้ข้อมูลแก่ศาลในการดําเนินกระบวนพิจารณาคดีเพื อให้ศาลใช้ข้อมูลที ได้รับ
ประกอบการพิจารณาพิพากษาคดีนั น โดยการให้ข้อมูลดังกล่าวจะทําด้วยการให้บุคคลที ไปเบิกความตอบ
คําถามของศาลหรือของคู่ความแต่ละฝ่าย
พยานควรเบิกความเฉพาะเท่าที ตนได้เห็น ได้ยิน หรือได้ทราบโดยตรงเท่านั น และต้องเบิกความ
ด้วยวาจา และห้ามพยานอ่านข้อความที จด หรือเขียนมา เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากศาล หากเหตุการณ์ที
พยานไม่แน่ใจหรือจําไม่ได้ให้ตอบไปตรง ๆ ว่าพยานไม่แน่ใจหรือจําไม่ได้ ถ้าพยานฟังคําถามของคู่ความ
หรือทนายความไม่ชัดเจน พยานอาจขอให้คู่ความหรือทนายความทวนคําถามใหม่ได้
เมื อเบิกความเสร็จแล้ว ศาลจะอ่านคําเบิกความที บันทึกให้แก่พยานฟัง ถ้าพยานเห็นว่า มีข้อความ
ใดไม่ตรงกับที ได้เบิกความไว้ พยานก็สามารถทักท้วงขอแก้ไขได้ หากข้อความดังกล่าวถูกต้อง ทั ง
หมดแล้ว ศาลจะให้พยานลงลายมือชื อไว้ท้ายคําเบิกความและเป็นอันเสร็จสิ นการเป็นพยาน
เบิกความเท็จ จะมีความผิดหรือไม่
การเบิกความเท็จเป็นการที พยานเอาความที รู้อยู่ว่าเป็นเท็จมาเบิกความต่อศาล ไม่ว่าพยานผู้นั น
จะได้สาบานหรือปฏิญาณตนก่อนเบิกความหรือไม่ก็ตาม และที สําคัญ ความเท็จนั นต้องเป็นข้อมูลสําคัญใน
คดี ที จะมีผลต่อการวินิจฉัยของศาลที จะนําไปสู่การแพ้หรือชนะคดี ผู้เบิกจะมีความผิดฐานเบิกความเท็จ
จะต้องเบิกความไปโดยมีเจตนาคือรู้อยู่แล้วว่าข้อความที ตนเบิกความนั นเป็นเท็จ การเบิกความเท็จในการ
พิจารณาคดีต่อศาลจึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 177 ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกิน 5 ปี
หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั งจําทั งปรับ ถ้าเบิกความเท็จในคดีอาญา ต้องระวางโทษจําคุก
ไม่เกิน 7 ปี และปรับไม่เกิน 14,000 บาท