Page 32 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 32

19




               การระงับข้อพิพาททางเลือก

                             การระงับข้อพิพาททางเลือก


                             การระงับข้อพิพาททางเลือก (Alternative Dispute Resolution) หมายถึงวิธีการระงับ


               ข้อพิพาทต่างๆ ที ถูกนํามาใช้เสริมเพื อเป็นทางเลือกให้แก่คู่พิพาทนอกเหนือจากการให้ศาลพิจารณา


               พิพากษาคดีไปตามขั นตอนปกติ  เพื อทําให้คดีเสร็จสิ นไปด้วยความรวดเร็วยิ งขึ น  คู่ความเสียค่าใช้จ่ายน้อยลง

               และได้ผลลัพธ์ที คู่ความพึงพอใจมากขึ น  ในขณะเดียวกันจะทําให้ปริมาณคดีที จะต้องเข้าสู่การสืบพยาน


               มีจํานวนลดน้อยลง  และทําให้การดําเนินคดีในศาลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด  โดยวิธีการดังกล่าว


               เช่น  การเจรจาต่อรอง  การไกล่เกลี ยข้อพิพาท  และการอนุญาโตตุลาการ  แต่ในศาลยุติธรรมของไทย


               วิธีการระงับข้อพิพาททางเลือกที ใช้กันมาก  มี 2 วิธี  คือการไกล่เกลี ยข้อพิพาท  และการอนุญาโตตุลาการ


                             การไกล่เกลี ยข้อพิพาทคืออะไร



                             การไกล่เกลี ยข้อพิพาท  เป็นการยุติหรือระงับข้อพิพาท าท

                                                                          ะนีประนอม
               ด้วยการตกลงยินยอมของคู่พิพาทเอง  โดยจะมีผู้ไกล่เกลี ยหรือผู้ประนีประนอม
               ซึ งเป็นคนกลางคอยช่วยให้คู่พิพาทเจรจาให้ได้วิธีการระงับข้อพิพาทที แต่ละ
                                                                          ทที แต่ละ

               ฝ่ายสามารถยอมรับได้  โดยผู้ไกล่เกลี ยหรือผู้ประนีประนอมไม่ได้มีอํานาจ
                                                                          มีอํานาจ

                                                                          จาจึง
               ตัดสินชี ขาดเหมือนศาลหรืออนุญาโตตุลาการ  ผลของการตกลงเจรจาจึง

               เกิดจากการตัดสินใจของคู่พิพาทเองโดยตรง


                             ผู้ไกล่เกลี ยหรือผู้ประนีประนอมคือใคร



                             ผู้ไกล่เกลี ยหรือผู้ประนีประนอมเป็นคนกลางคอยช่วยให้คู่พิพาทเจรจาให้ได้วิธีการระงับ

               ข้อพิพาทที แต่ละฝ่ายสามารถยอมรับได้  ในกรณีที เป็นการไกล่เกลี ยข้อพิพาทในศาล  ผู้ที ทําหน้าที ดังกล่าว


               อาจจะเป็นผู้พิพากษาหรือบุคคลที ได้รับการแต่งตั งจากผู้พิพากษาก็ได้  โดยแต่ละศาลได้ดําเนินการคัดสรร
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37