Page 29 - คำอธิบายการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 29
๒๒
หมวด ๒ : การพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส
๒.๑ ประเภทคดีที่สามารถใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส
สําหรับประเภทคดีที่สามารถใชกระบวนพิจารณาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสไดนั้น
สํานักงานศาลยุติธรรมไดออกประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข
เกี่ยวกับการใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส โดยกําหนดใหใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส
ี
กับคดีแพงทุกประเภท รวมถึงคดีแพงในศาลชํานัญพิเศษ คดีผูบริโภคและคดีที่มกฎหมายกําหนดให
นําประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงไปใชบังคับ
๓๔
ทั้งนี้ การใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสตามประกาศสํานักงานศาลยุติธรรมดังกลาวไมใช
๓๕
บังคับแกการพิจารณาโดยไมเปดเผยตามมาตรา ๓๖ แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
๒.๒ ผูมีสิทธิรองขอพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส
ผูมีสิทธิรองขอพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส ไดแก โจทก จําเลย ผูรอง หรือผูคัดคาน แลวแตกรณี
กลาวคือ คูความทุกฝายในคดีสามารถรองขอใหใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสในสวนของตนเองได
กรณีคูความประสงคขอใหศาลนั่งพิจารณาตามประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ
วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส สามารถดําเนินการได ดังนี้
(๑) ยื่นคํารองขอแบบปกติโดยตรงตอศาล (ยื่นคํารองเปนกระดาษ)
(๒) ยื่นคํารองขอผานระบบบริการออนไลนศาลยุติธรรม (Court Integral Online Service : CIOS)
(๓) คดีที่ยื่นคําฟองตั้งตนคดีผานระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส (e-Filing System) ตองยื่นคํารอง
ขอผานระบบรับสงอิเล็กทรอนิกส (e-Filing System) เทานั้น
(๔) ชองทางอื่นตามแตประกาศของศาล
สําหรับการเขารวมกระบวนพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส กรณีศาลมีคําสั่งอนุญาตใหใช
วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส เมื่อถึงวันนัดคูความที่ไดรับอนุญาตใหใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส
๓๔ ประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส
ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ขอ ๕ “ใหใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสกับคดีแพงทุกประเภทและคดีที่มีกฎหมาย
กําหนดใหนําประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงไปใชบังคับ โดยใหปฏิบัติตามหลักเกณฑและวิธีการตามที่กําหนดใน
ประกาศนี้”
๓๕ ประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส
ั
ลงวนที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ขอ ๑๒ วรรคสอง “ความในวรรคหนึ่งไมใชบังคับแกการพิจารณาโดยไมเปดเผยตามมาตรา ๓๖
แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง”