Page 30 - คำอธิบายการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 30

๒๓


               นอกศาล สามารถเขารวมการพิจารณาทางอิเล็กทรอนิกสโดยใชแอปพลิเคชันตามที่ไดรับอนุญาต

               สวนคูความที่ไมไดรับอนุญาตใหใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสตองเดินทางไปที่ศาล ณ หองพิจารณา

               ตามปกติ


               ๒.๓ ระยะเวลาในการยื่นคํารองขอพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส



                       การรองขอใหมีการนั่งพิจารณาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส แบงไดเปน ๒ กรณี ดังนี้

                       ๒.๓.๑ ยื่นคํารองขอพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสพรอมกับคําคูความ

                       คูความสามารถยื่นคํารองขอพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสไดพรอมกับการยื่นคําคูความ
               โดยคํารองตองบรรยายรายละเอียดใหปรากฏขอเท็จจริงที่แสดงวาผูรองมีความสามารถในการเขาถึง

               เทคโนโลยีได ระบุระบบอิเล็กทรอนิกส อุปกรณสื่อสาร และสถานที่ที่คูความหรือบุคคลที่เกี่ยวของในคดี

               ขอใชในการเขารวมการพิจารณาคดีออนไลน รวมถึงหมายเลขโทรศัพท ที่อยูจดหมายอิเล็กทรอนิกส

               (e-mail address) หรือชองทางติดตอผานเครือขายสังคมออนไลน (social media platform) ใด ๆ

                                                                                                        ๓๖
               ที่สามารถใชในการติดตอและสงลิงก (Link) เขาหองพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสใหแกผูรองในวันนัดได
               เพื่อประกอบดุลพินิจศาลในการพิจารณาสั่งคํารองขอพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสตอไป อยางไรก็ตาม

               ในวันนัดพิจารณาคูความอาจขอเปลี่ยนสถานที่ที่ใชในการเขารวมการพิจารณาคดีไดโดยแถลงขออนุญาต
               ตอศาลในโอกาสแรก

                       ขอสังเกต การนําสืบพยานเอกสารในการพิจารณาคดีออนไลนเนื่องจากเอกสารสวนใหญ

                                       
               อยูในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสหรือสําเนาซึ่งหากจําเลยไดสําเนาแลวไมคัดคานเอกสารนั้นก็สามารถรับฟงได
               ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๙๓ (๔) และมาตรา ๑๒๕ ประกอบคําพิพากษา

               ศาลฎีกาที่ ๙๒๓๐/๒๕๕๑  แตในกรณีที่ศาลเห็นวามีเหตุจําเปนตองใชตนฉบับ ศาลอาจแจงคูความ
                                       ๓๗
               ที่ประสงคยื่นคํารองขอพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกสใหเตรียมตนฉบับเอกสารที่ประสงคอางเปน

               พยานหลักฐานมาใหเจาหนาที่งานรับฟองตรวจสอบความมีอยูจริงและความถูกตองตรงกันระหวาง

               ตนฉบับเอกสารและสําเนาเอกสารในสํานวนตั้งแตในวันยื่นคําคูความเพื่อความสะดวกในการพิจารณาคดี

               เมื่อเจาหนาที่งานรับฟองตรวจเสร็จสิ้นและคืนเอกสารตนฉบับใหแกคูความไปแลว ใหเจาหนาที่งานรับฟอง


                       ๓๖  ประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใชวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส
               ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ขอ ๑๓ “การรองขอใหมีการนั่งพิจารณาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส คูความอาจรองขอ
               ในเวลาที่ยื่นคําคูความหรือในระหวางการพิจารณา โดยตองระบุระบบอิเล็กทรอนิกส อุปกรณสื่อสารและสถานที่ที่คูความหรือ

               บุคคลที่เกี่ยวของในคดีจะใชระบบมาดวย”
                       ๓๗  คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๙๒๓๐/๒๕๕๑ จําเลยไมไดคัดคานความถูกตองแทจริงของเอกสารวาไมมีตนฉบับหรือ

               ตนฉบับนั้นปลอมทั้งฉบับหรือบางสวน หรือสําเนานั้นไมถูกตองกับตนฉบับ จึงถือไดวาจําเลยไดยอมรับถึงการมีอยูและ
               ความแทจริงของตนฉบับเอกสารนั้น รวมทั้งยอมรับวาสําเนานั้นถูกตองกับตนฉบับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
               มาตรา ๑๒๕ ศาลยอมรับฟงเปนพยานหลักฐานแหงเอกสารนั้นไดตามมาตรา ๙๓ (๔)
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35