Page 75 - Q8 -
P. 75

74

                    สองสวนหลัก หนาตางหลักที่ดานขวาจะแสดงขอมูลที่เกี่ยวของกับตัวเลือกที่เลือกจากเมนูหลักทาง

                    ดานซายที่แสดงสถานะการปองกัน และแจงขอมูลเกี่ยวกับสถานะการปองกันของ ESET  Endpoint
                    Antivirus ผูใชสามารถทําการสแกนคอมพิวเตอรโดยสามารถกําหนดคาและเริ่มตนการสแกน
                    แบบสมารท  การสแกนแบบกําหนดเอง  หรือการสแกนอุปกรณจัดเก็บขอมูลภายนอกที่เชื่อมตอกับ

                    คอมพิวเตอร โดยมีการอัพเดทและแสดงขอมูลเกี่ยวกับฐานขอมูลไวรัส และสามารถปรับคอมพิวเตอร
                    หรือการตั้งคาการรักษาความปลอดภัยเว็บหรืออีเมล ใหการเขาถึงไฟลบันทึก สถิติการปองกัน ติดตาม
                    การทํางาน กระบวนการที่ทํางานอยู ตัววางกําหนดการ กักเก็บ ESET Sys Inspector และ ESET Sys
                    Rescue เพื่อสรางซีดีกูคืนไดอีกดวย

                             ผูตรววจราชการควรตรวจสอบดูวาคอมพิวเตอรสํานักงานในศาลนั้น ๆ มีการติดตั้งโปรแกรม
                    นี้ไวครบถวน และมีสภาพพรอมใชงานหรือไม  หากไมมีควรแนะนําใหมีการติดตั้ง สําหรับการใชงานควร
                    แนะนําใหผูใชงานเปดโปรแกรมเพื่อสแกนไวรัสอยูเปนประจํา
                             5.๔.๒ มีการติดตั้งโปรแกรม Microsoft  Office  2016 ที่ไดรับจัดสรร License  จาก

                    ศาลยุติธรรม
                             โปรแกรม Microsoft  Office  2016  เปนชุดที่รวบรวมโปรแกรมสําหรับการใชสรางงาน
                    เอกสารตาง ๆ ในสํานักงาน เชน โปรแกรม Word,  Excel,  PowerPoint,  Access,  Outlook,
                    Publisher, OneNote ซึ่งสํานักงานศาลยุติธรรมไดจัดสรรมาใหแตละศาลติดตั้ง  ซึ่งผูตรวจราชการควร

                    ตรวจสอบวา โปรแกรมดังกลาวมีการอัพเดทจาก License ที่ไดรับอนุญาตหรือไม หากยังไมดําเนินการ
                    ควรแนะนําใหดําเนินการเพื่อความพรอมในการใชงานของเจาหนาที่ผูเกี่ยวของกับการใชโปรแกรม
                             5.๔.๓ มีระบบรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร
                             ศาลแตละแหงควรมีการวางระบบคอมพิวเตอรโดยคํานึงถึงการปองกันภัยคุกคามจากผูที่

                    ประสงครายตอขอมูลที่เปนความลับของหนวยงานหรือขอมูลสวนตัวของบุคคลในหนวยงานนั้นมีอยูรวม
                    ไปถึงขอมูลในเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลจากผูที่ตองการคุกคามผูใชคอมพิวเตอรบนโลกอินเตอรเน็ต
                    หรือจากระบบรักษาความปลอดภัยในเครื่องคอมพิวเตอรเอง สามารถแบงเปนประเภทได 2 ประเภท คือ
                             ๑) การบุกรุกทางกายภาพ (เขาถึงระบบโดยตรง) เชน การเขามาคัดลอกขอมูลใสอุปกรณ

                    บันทึกขอมูลกลับไป การขโมยฮารดดิสกออกไป การสรางความเสียหายโดยตรงกับฮารดแวรตาง ๆ หรือ
                    การติดตั้งฮารดแวรที่ดักจับ Password ของผูอื่นแลวสงไปใหผูบุกรุก เปนตน
                             ๒) การบุกรุกเครือขายคอมพิวเตอร เชน การปลอยไวรัสคอมพิวเตอรเขามาทําลายระบบ

                    หรือขโมยขอมูล การเจาะเขามาทางรอยโหวของระบบปฏิบัติการโดยตรงเพื่อขโมย Password  หรือ
                    ขอมูล เปนตน
                             ผูตรวจราชการควรตรวจสอบการติดตั้งระบบ Firewall เพื่อรักษาความปลอดภัยที่ใช
                    ปองกันการบุกรุกทางกายภาพ เชน ระบบ Access  Control  สวนระบบที่ปองกันการบุกรุกทาง
                    เครือขายอาจใชวิธีการ Backup  ขอมูลที่สําคัญเก็บเอาไว เพื่อใชในกรณีที่ขอมูลเกิดความเสียหายจาก

                    สาเหตุใด ๆ ก็ตามที่อาจเกิดขึ้น
                             5.๔.๔ มีการเขารหัสระบบเครือขายไรสาย (Wifi)
                             เพื่อรักษาความปลอดภัยของระบบเครือขาย การเขาใชงานระบบเครือขายไรสายในศาล

                    ควรกําหนดรหัสที่มีความเหมาะสม ไมใชรหัสที่สามารถคาดเดาไดงายเกินไป
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80