Page 7 - รายงายผลประเมินคุณภาพฯ สหก ปี 2562
P. 7

6



                                                                        ู
             7.  ในดานเวลาเฉลี่ยในการดำเนินการนั้นกระบวนการในการเก็บขอมลยังไมสะทอนเจตนารมณ เนื่องจากเปนการ
                รายงานในภาพรวม โดยการแสดงผลควรมี่การจัดกลุมแยกประเภทและวิเคราะหประเด็นปญหาใหชัดเจน เชน
                เอกสารกลุมที่ใชระยะเวลาในการดำเนินงานเกิน 10 วัน เกิดจากสาเหตุใด

             8.  ในการจัดโครงการตางๆ ควรเปนโครงการที่มีลักษณะตอเนื่องกันทุกป และควรมีการตั้งคาเปาหมายจำนวน

                โครงการที่ทาทาย และบางกิจกรรมที่นำเสนอมาในรายงานบางประเด็นไมตรงกับวัตถุประสงคของตัวบงชี้ โดยควร
                                                                             
                เปนโครงการทำสำนักหอสมุดเปนผูดำเนินการ

             9.  ในดานความถูกตองในการจัดชั้นนั้น การไดมาซึ่งขอมูลในการสุมตรวจเอกสารควรมีการสุมตรวจมากกวาปละ 1
                ครั้ง ทั้งนี้ในสวนที่ผิดพลาดควรมีการวิเคราะหเพื่อหาแนวทางแกไข และแจงผูเกี่ยวของเพื่อดำเนินการ

                         ิ
             10. การประเมนความพึงพอใจของผูรับบริการควรครอบคลุมทั้งทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ทั้งนี้เพือใหไดขอมลที ่
                                                                                                           ู
                เปนขอเท็จจริงที่สามารถนำไปปรับปรุงพัฒนาได
             11. ควรมีกระบวนการที่ชัดเจนในการนำผลประเมินจากการดำเนินงานในดานตางๆ ไปใชเปนขอมูลประกอบในการ

                พฒนา เชน แบบประเมนความพึงพอใจของผูรับบริการ และแบบประเมินความถูกตองในการจัดชั้นหนังสือ
                                    ิ
                  ั
             12. ควรมีการประชาสัมพันธชองทางการสืบคนฐานขอมูลวิจัยใหกับบุคลากร
             13. การทำกจกรรมในรูปแบบออนไลนจะชวยใหตอบสนองความตองการของนักศึกษาไดมากขึ้น
                       ิ
             14. การขยายการใหบริการไปสูชุมชนและสังคมจะสามารถสรางเครือขายความรวมมอไดมากขึ้น
                                                                       
                                                                                  ื
             15. การเพิ่มพื้นที่ใชบริการที่สามารถพูดคุยหรือรับประทานอาหารได จะชวยดึงดูดใหนักศึกษาเขามาใชบริการมากขึ้น
             16. การปรับปรุงสถานของหอสมุดกลางในสวนของวิทยาเขตใหทันสมัย


             องคประกอบที 2 การบริหารจัดการ
                         ่
             จุดแข็ง
             1.  ผูบริหารมีความมุงมั่นและใสใจในการดำเนินงานตางๆ ใหเปนไปตามวิสัยทัศนที่กำหนดไว

             2.  มีการดำเนินงานจัดการความรูภายในสำนักหอสมุดอยางเปนรูปธรรม และมีกิจกรรมรองรับที่ไดรับความรวมมอ
                                                                                                             ื
                จากบุคลากร
             3.  บุคลากรมีความมุงมั่นในการพัฒนาตนเองตามสายงานและการขอตำแหนงทางวิชาการ

             จุดที่ควรพัฒนา

             1.  การพัฒนาบุคลากรโดยเฉพาะแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคลที่ยังดำเนินการไมครบถวนตามกระบวนการ PDCA
             2.  การดำเนินงานตามแผนบริหารความเสียงที่วางไว โดยเฉพาะความเสี่ยงดานการปฏิบัติงานและดานกฎระเบียบ
                                                 ่
                ขอบังคับ

             3.  การวิเคราะหความเสี่ยงใหครอบคลุมรอบดาน เชน ความเสี่ยงที่สำนักจะเปนองคกรที่ไมตอบโจทยกลยุทธสถาบัน
             แนวทางการปรับปรุงพฒนา
                                ั
             1.  การใหความรูบุคลากรเกี่ยวกับกฎระเบียบดานที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน เชน ระเบียบการซื้อ/เบิกจายพัสดุ
                กำหนดการแลวเสร็จของงานที่มอบหมาย
   2   3   4   5   6   7   8