Page 11 - rakbig_Neat
P. 11
9
ยางรัก
ยางรัก เป็นวัตถุดิบที่ส้าคัญในการผลิตเครื่องเขิน ท้าหน้าที่ประสานคล้ายกาวหรือเรซินท้าให้โครง
ไม้ไผ่ของเครื่องจักสานให้มีความแข็งแรงขณะเดียวกัน เมื่อแหง้แล้วมีคุณสมบัติคล้ายพลาสติก น้า ซึมผ่าน
ไม่ได้และยังท้าหน้าที่เป็นวัสดุเคลื่อนผิว และยืดอายุการใช้งานของเครื่องจักสานได้เป็นอย่างดี
แหล่งต้นยางรักในประเทศไทย
ประเทศไทยมีแหล่งต้นรักอยู่ 2 ประเภท คือ ป่าปลูก และป่าธรรมชาติ ส้าหรับป่าปลูกมีเพียงการ
ี
ื่
เพาะปลูกขยายพันธุ์เพอการค้นคว้าทดลองของกรมป่าไม้เพยงเล็กน้อยที่จังหวัดเชียงใหม่เท่านั้น การท้ายางรัก
เพื่อใช้ในเชิงพาณิชย์และอุตสาหกรรมเครื่องเขินทั้งหมด จึงได้มาจากป่าธรรมชาติทางตอนบนของภาคเหนือ
่
ิ
เช่น จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮองสอนเชียงราย พะเยา แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ และพษณุโลก บริเวณที่มีต้นรักมากจน
สามารถผลิตน้้ายางรักป้อนแหล่งผลิตงานเครื่องเขินได้มากที่สุด คือต้นรักจากป่าธรรมชาติในจังหวัดเชียงใหม่
ซึ่งมีขนาดใหญ่ครอบคลุมพื้นที่อ้าเภอเชียงดาว ฝาง และเขตชายแดนติดต่อรัฐฉานของพม่า ป่ารักทั้งหมดเป็น
ป่าธรรมชาติโดยแท้จริง ปัจจุบันผู้ผลิตเครื่องเขินในภาคเหนือใช้ยางรักจากรัฐฉานของพม่า และบางอ้าเภอใน
จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งภาครัฐก้าหนดให้ยางรักเป็นของป่าหวงห้ามตามบัญชีท้ายพระราชกฤษฎีกาก้าหนดของป่า
หวงห้าม พ.ศ. 2530
ลักษณะของยาง
น้้ายางจากต้นรัก ฮักหลวงหรือรักใหญ่หลังจากเจาะกรีดล้าต้นจะได้น้้ายางเหลวสีเทา ซึ่งจะกลายเป็น
สีสีน้้าตาลเข้มและด้าสนิท เมื่อถูกอากาศภายหลังการเจาะกรีดยางรักแล้วจะใช้ โอ่ง หรือไห เก็บรักษาน้้ายาง
เอาไว้เพื่อโดยไม่ให้ถูกแสงแดดหรือความร้อน คุณสมบัติของยางรักก็จะไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ยางรักจะได้
จากการเปิดเปลือกล้าต้นด้วยวิธีการเจาะ กรีดแบบต่าง ๆ ฮักหลวงหรือที่เรียกว่ารักใหญ่ จะมีเนื้อรักมากกว่า
รักพันธุ์ อื่น ๆ มีมีผิวที่แข็งแกร่ง ทนต่อความร้อน ความชื้นได้ดี มีการแห้งตัว และความเรียบผิวที่สม่้าเสมอ