Page 16 - สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
P. 16
1
๖) สถาบันสื่อสารมวลชน
สื่อสารมวลชนมีบทบาทสําาคัญต่อสังคมมาโดยตลอด ยิ่งในปัจจุบันที่เทคโนโลยี- สารสนเทศและการสื่อสารมีความเจริญก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง ก็ย่ิงทําาให้บทบาทของสื่อสารมวลชน แพรก่ ระจายออกไปในวงกวา้ งและรวดเรว็ มากยงิ่ ขนึ้ และไดเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ในการดาํา เนนิ ชวี ติ ของประชาชน สื่อสารมวลชนจึงกลายเป็นสถาบันที่มีบทบาทสําาคัญยิ่งทั้งในแง่ของการให้ข้อมูลข่าวสารและการโน้มนําา สังคมในด้านต่าง ๆ
ก า ร ด าํา เ น นิ ง า น ข อ ง อ ง ค ก์ ร ส อื ่ ม ว ล ช น ภ า ย ใ ต ก้ ล ไ ก ต ล า ด ท บี ่ า ง อ ง ค ก์ ร ใ ห ค้ ว า ม ส าํา ค ญั ก บั การแสวงหาผลกําาไรสูงสุด และมุ่งตอบสนองความพึงพอใจของผู้บริโภค รายการที่องค์กรสื่อนั้น ผลิตออกมาจึงมุ่งให้เหมาะสมกับรสนิยมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปตลอดเวลา และที่สําาคัญยังต้องพึ่งพา ค่าโฆษณาในการดําาเนินธุรกิจจากภาคธุรกิจเอกชน ดังนั้น ภาคธุรกิจเอกชนเจ้าของงบประมาณโฆษณา จึงสามารถเข้ามามีบทบาทในการกําาหนดรูปแบบรายการได้ ซึี่งความต้องการของภาคธุรกิจจะเป็นรายการ ที่เข้าถึงเฉพาะประชาชนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายของธุรกิจเท่านั้น
นอกจากนี้ การดําาเนินงานขององค์กรสื่อยังขึ้นกับพื้นฐานขององค์กรว่ามีวัตถุประสงค์ ในการดําาเนินงานเช่นใด มีรูปแบบและวัฒนธรรมขององค์กรอย่างไร มีรายได้จากแหล่งใดเป็นหลัก รวมไปถึงสถาบันต่าง ๆ ทางสังคมที่เป็นกลไกควบคุมและตรวจสอบ เช่น สถาบันที่ควบคุมด้านเนื้อหา สถาบันที่ควบคุมสัดส่วนการโฆษณา
ดว้ ยปจั จยั ดงั ทก่ี ลา่ วมา การผลติ รายการของสอ่ื สารมวลชนจะคาํา นงึ ถงึ คณุ ภาพเพยี งใด และคาํา นงึ ถงึ วา่ สงั คมจะไดร้ บั ผลประโยชนห์ รอื ไม่ จงึ ขนึ้ อยกู่ บั จรยิ ธรรมของสอ่ื การดาํา เนนิ งานของสถาบนั ต่าง ๆ ที่ควบคุมส่ือ และท่ีสําาคัญคือ ประชาชนที่จะมีบทบาทเป็นผู้ชี้นําาสื่อ หรือให้สื่อเป็นผู้ชี้นําา
๒. การขัดเกลาทางสังคม
เมื่อมนุษย์เกิดและเติบโตขึ้นมานั้น มนุษย์ต้องเรียนรู้วัฒนธรรมและวิถีชีวิตของผู้คนในสังคม พร้อมทั้งรู้จักเรียนรู้และปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมรอบตัวอยู่ตลอดเวลา ซึ่งจะหล่อหลอมเป็นบุคลิกภาพ ของบุคคลนั้นต่อไป
๒.๑ ความหมายของการขัดเกลาทางสังคม
เป็นกระบวนการทางสังคมที่เกิดขึ้นพร้อมกับกระบวนการทางจิตวิทยาที่จะทําาให้สมาชิกใน ส งั ค ม ไ ด เ้ ร ยี น ร ้ ู ย อ ม ร บั ค า่ น ยิ ม ก ฎ เ ก ณ ฑ ์ ว ฒั น ธ ร ร ม ร ะ เ บ ยี บ แ บ บ แ ผ น ท สี ่ งั ค ม ไ ด ก้ าํา ห น ด ไ ว ้ เ พ อื ่ ใ ห บ้ คุ ค ล สามารถพัฒนาบุคลิกภาพและปรับตัวให้เป็นสมาชิกในสังคม ที่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสงบสุข
๒.๒ จุดมุ่งหมายของการขัดเกลาทางสังคม
๑) เพื่อให้รู้จักบทบาทต่างๆในสังคมการเรียนรู้บทบาทต่างๆของคนในสังคมจะช่วยให้ บุคคลสามารถปฏิบัติตนตามสถานภาพของตนเอง และอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นได้ เช่น พ่อแม่ต้องทําาตัวเป็น แบบอย่างที่ดีต่อลูก ลูกต้องขยันเรียน สนใจใฝ่หาความรู้ และเช่ือฟังพ่อแม่
4
หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําาเนินชีวิตในสังคม ม.๔-๖