Page 16 - พระพุทธศาสนา ม 4-6
P. 16
๓) ทรงมวี สิ ยั ทศั นใ์ นการเลอื กชยั ภมู ทิ มี่ คี วามเจรญิ พรงั่ พรอ้ มและเปน็ ศนู ยก์ ลางของบคุ คล ชั้นนา คือ นักปราชญ์ราชบัณฑิต ชัยภูมิที่ว่านี้คือ กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ สาหรับเป็นสถานที่เผยแผ่ พระพุทธศาสนา
๔) ทรงมีกุศโลบายในการสอน การเผยแผ่อย่างดีเยี่ยม โดยทรงเลือกสอนชนชั้นปกครอง ก่อน เพราะชนชั้นปกครองทาสิ่งใดย่อมส่งผลกระทบต่อชนชั้นอื่นด้วย เมื่อชนชั้นปกครองนับถือ พระพุทธศาสนา ประชาชนทั่วไปก็ย่อมหันมานับถือตามด้วย
๕) ทรงได้รับความอุปถัมภ์จากสถาบันกษัตริย์และชนชั้นปกครองของเมืองต่างๆและทรง ได้กาลังสาคัญ คือ พระอัครสาวกทั้งคู่ ได้แก่ พระโมคคัลลานะและพระสารีบุตร ตลอดจนถึงพระภิกษุ อีกเป็นจานวนมากซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความสามารถและมีช่ือเสียงอยู่ก่อนแล้วมาเป็นผู้ช่วย ความได้เปรียบ ทางการเมืองและทางสังคมเหล่านี้เอง คือ รากฐานอันมั่นคงของการก่อตั้งพระพุทธศาสนาได้อย่างมั่นคง ในแผ่นดินชมพูทวีปก่อนจะกระจายไปทั่วทุกภูมิภาคของโลก
๔.๒ วิธีการสอน และการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธจริยา
พระพุทธเจ้าทรงได้รับการยกย่องว่า ทรงเป็นพระบรมครู เพราะพระองค์ทรงมีวิธีการสอน และการเผยแผ่ที่สามารถปรับให้สอดคล้องกับบุคคล และสถานการณ์ ดังเมื่อพระองค์ทรงพบกษัตริย์ ก็ทรงสอนเรื่องการเมืองการปกครองได้อย่างผู้ท่ีรู้จริง เมื่อทรงพบปะกับพราหมณ์ แพศย์ ศูทร ชาวนา คนเลี้ยงโค ยาจก วณิพก นักบวชต่างศาสนา หรือแม้แต่โสเภณี ก็ทรงสอนให้บุคคลเหล่านั้นเข้าใจอย่าง ทะลปุ รโุ ปรง่ จนมคี า ยกยอ่ งการสอนของพระองคว์ า่ “เหมอื นหงายของทคี่ วา่ ไว้ เหมอื นเปดิ ของทปี่ ดิ เหมอื น บอกทางแก่คนหลงทาง และเหมือนตามประทีปในที่มืด” เหตุผลสาคัญที่ทาให้พระองค์ทรงเป็นครูแห่งครู ก็เพราะทรงเป็นผู้ที่ตรัสรู้จริง ทรงทาได้อย่างที่สอนจริง และทรงมีจิตวิญญาณแห่งความเป็นครูที่แท้จริง คือ ทรงสอนโดยไม่หวังผลประโยชน์ตอบแทน
ในการสอนและเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา ของพระพุทธเจ้า พระองค์ทรงมีหลักการสอน ที่เรียกว่า “พุทธลีลาในการสอน ๔” หรือเรียก
อีกอย่างว่า วิธีการสอน ๔ ขั้นตอน คือ
๑) แจม่ แจง้ ทรงอธบิ ายใหเ้ หน็ ชดั เจน
เหมือนกับจูงมือไปดูให้เห็นกับตา
๒) จงู ใจทรงชแี้ จงใหซ้ าบซงึ้ ตระหนกั ถงึ
คุณค่าจนน้อมนาไปปฏิบัติด้วยตนเอง
๓) เร้าให้กล้า ทรงชักชวนให้เห็นด้วย
พระพุทธเจ้าทรงมีวิธีการสอน และเผยแผ่พระพุทธศาสนา คล้อยตาม จนเกิดความมุมานะ อาจหาญ มั่นใจ โดยปรับให้สอดคล้องกับบุคคลและสถานการณ์
พร้อมที่จะนาไปพิสูจน์ทดลองด้วยตนเองอย่างไม่ย่อท้อ
๔) ปลุกให้ร่าเริง ทรงแนะนาและโน้มน้าวให้เห็นว่า หากปฏิบัติตามที่พระองค์ทรงสอนแล้ว
จะได้รับประโยชน์ในทางที่ดีงาม หรือมีความก้าวหน้าอย่างไร จนผู้ฟังมั่นใจในผลดีท่ีจะได้รับ
14 พระพุทธศาสนา ม.๔-๖