Page 14 - พระพุทธศาสนา ม 4-6
P. 14

๖. สิ่งที่พระองค์ตรัสรู้ เรียกว่า อริยสัจ ๔ และการตรัสรู้อริยสัจ ๔ ทาให้พระองค์ทรงเปลี่ยน สถานภาพจาก พระโพธิสัตว์มาเป็น “สัมมาสัมพุทธ” ซึ่งแปลว่า พระผู้ตรัสรู้โดยชอบด้วยพระองค์เอง
๗. ความจริงที่ค้นพบเกิดจากวิธีการทางปัญญาของพระองค์เอง ไม่เกี่ยวข้องกับอาจารย์คนใด จึงทรงปฏิญาณว่า ในเรื่องการตรัสรู้อริยสัจแล้ว ไม่มีใครเป็นครูของพระองค์
การทพี่ระพทุธเจา้ทรงประสบผลสาเรจ็ในการบาเพญ็ เพยีรฝกึฝนพระองคเ์พอื่การตรสัรู้เปน็การฝกึ พระองคไ์ ดอ้ ยา่ งสงู สดุ จนไดร้ บั การยกยอ่ งใหเ้ ปน็ พระบรมศาสดา เปน็ เพราะพระองคท์ รงมพี ระคณุ ธรรม
ดังนี้
๑. ทรงบา เพญ็ บารมมี าหลายภพชาตอิ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง หรอื ทรงวางพนื้ ฐานในการทจี่ ะเปน็ พระพทุ ธเจา้
มาอย่างยาวนาน
๒. ทรงมพี ระปณธิ านทมี่ นั่ คง เมอื่ ทรงตงั้ พระทยั วา่ จะเปน็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ในอนาคตใหไ้ ดแ้ ลว้
แม้จะต้องบาเพ็ญบารมียากเพียงใด พระองค์ก็ยังมั่นคงในพระปณิธานนั้น จะเห็นได้จากพุทธประวัติของ พระองค์ว่า ทรงแสวงหาหนทางเพ่ือให้ตรัสรู้ให้ได้ เริ่มตั้งแต่เสด็จออกผนวช เดินทางไปศึกษาในสานัก อาจารย์ต่าง ๆ หลายสานัก การบาเพ็ญทุกกรกิริยาจนพระวรกายซูบผอม เมื่อเห็นว่าไม่ใช่หนทางที่ทาให้ ตรัสรู้ ก็คิดหาหนทางใหม่เปลี่ยนมาเป็นการบาเพ็ญเพียรทางจิต จนกระทั่งทรงตรัสรู้ในที่สุด
๓. ทรงเปน็ ผทู้ มี่ คี วามใฝเ่ รยี นรอู้ ยา่ งยง่ิ ยวด แมจ้ ะทรงศกึ ษาจากสา นกั ของยอดครแู หง่ ยคุ สมยั ทงั้ สองท่าน คือ สานักอาฬารดาบส กาลามโคตร และอุทกดาบสรามบุตรแล้ว พระองค์ก็ยังทรงไม่พอพระทัย ในความรู้ที่ได้รับมา แต่กลับทรงคิดหาทางก้าวหน้าต่อไปให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นด้วยพระองค์เอง จึงทรงลาอาจารย์ แล้วออกไปจากสานัก แล้วเสด็จจาริกแสวงหาที่สาหรับจะทรงบาเพ็ญเพียรเพื่อให้ตรัสรู้
๔. ทรงอุทิศตนอย่างยอดเยี่ยม พระพุทธองค์ทรงเป็นผู้ที่อุทิศตนเพื่อที่จะตรัสรู้ให้ได้ จะเห็นได้ จากการบาเพ็ญทุกกรกิริยา ทรมานพระวรกายของพระองค์เอง ๓ วิธี คือ การควบคุมอวัยวะบางส่วน ของร่างกายไว้อย่างเข้มงวด เช่น การใช้ฟันบนกับฟันล่างขบกันให้แน่น ใช้ลิ้นกดเพดานปาก ให้แน่น เป็นเวลานาน ๆ จนทาให้เกิดความเครียดทั้งร่างกาย การกลั้นลมหายใจ โดยกลั้นให้นานที่สุดแล้ว ค่อยผ่อนหายใจทีละน้อยแล้วกลั้นต่อสลับกันไป และการอดอาหารจนพระวรกายซูบผอม หรือจากการที่ พระองค์ทรงตั้งปณิธานว่าหากไม่บรรลุโพธิญาณก็จะทรงยอมตายอยู่บนบัลลังก์ที่ประทับนั้น
๕. ทรงมีความไม่สันโดษในกุศลธรรมอย่างยอดเยี่ยม พระองค์จึงทรงพยายามหาทางที่ก้าวไป ข้างหน้าเสมอ จนกระทั่งทรงพบความสาเร็จด้วยการบรรลุเป็นพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณในที่สุด ซึ่งกล่าวได้อีกนัยว่า พระพุทธองค์ทรงไม่เหนื่อยหน่ายกับการทาความดี กลับทรงเพียรพยายามหาทาง ทาความดีให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไปจนถึงที่สุดแห่งความดีจึงจะหยุด
ด้วยเหตุที่ทรงฝึกพระองค์อย่างเข้มงวด ทาให้พระพุทธองค์ทรงประสบความสาเร็จในทุก ๆ ด้านท่ี ทรงประสงค์ สมกับที่ทรงเป็นผู้ฝึกตนได้อย่างสูงสุด จนเป็นแบบอย่างให้มีผู้เจริญรอยตาม และเป็นเหตุ ให้ทรงได้รับการสรรเสริญอย่างสูงสุดในทุกด้าน รวมถึงการตรัสรู้ด้วย
12 พระพุทธศาสนา ม.๔-๖


































































































   12   13   14   15   16