Page 15 - พระพุทธศาสนา ม 4-6
P. 15

๔. การก่อตงั้ พระพทุ ธศาสนาวธิ กี ารสอนและการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา ตามแนวพุทธจริยา
๔.๑ การก่อตั้งพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา กาเนิดขึ้นหลังจากท่ีพระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณใน วันเพ็ญเดือนวิสาขะ หรือวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๖ เมื่อพระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้แล้วก็ทรงพิจารณาธรรมท่ีได้ ตรัสรู้ว่าเป็นเรื่องลึกซึ้ง ยากท่ีผู้อื่นจะเข้าใจได้ง่าย แต่ก็ทรงพิจารณาเปรียบเทียบสัตวโลกได้กับดอกบัว ๔ เหล่า คือ
๑) อุคฆฏิตัญญูคือบัวพ้นน้า
๒) วิปจิตัญญู คือ บัวเสมอน้า
๓) เนยยะ คือ บัวใต้น้า
๔) ปทปรมะ คือ บัวใต้โคลนตม
บัวท้ัง ๔ เหล่านี้เปรียบได้กับบุคคลมีสติปัญญาต่างกัน
ด้วยอาศัยพระมหากรุณาธิคุณท่ีมีต่อสัตวโลก จึงทรงตั้งพระทัยที่จะ แสดงธรรมสั่งสอนสัตวโลก
พระสาวกกลุ่มแรกที่พระองค์ได้ทรงแสดงธรรมโปรด
คอื ปญั จวคั คยี ท์ งั้ ๕ไดแ้ ก่อญั ญาโกณฑญั ญะวปั ปะภทั ทยิ ะมหานาม
และอสั สชิโดยทรงแสดงธรรมเทศนากณั ฑแ์ รกคอื ธมั มจกั กปั ปวตั น-
สตู ร ทป่ี า่ อสิ ปิ ตนมฤคทายวนั เมอื งพาราณสี ทา ใหอ้ ญั ญาโกณฑญั ญะ ได้ดวงตาเห็นธรรมบรรลุโสดาบัน พระรัตนตรัยจึงเกิดข้ึน เป็นครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ในโลกเป็นครั้งแรก คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ซึ่งเป็นการก่อตั้งพระพุทธศาสนาอย่างเป็นทางการ และภายหลังท่ีปัญจวัคคีย์ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ทั้งหมดและเป็นกา ลังในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อมา ทาให้พระพุทธศาสนาเจริญอย่างรวดเร็ว มีพระสาวกเพ่ิมขึ้นมากเป็นลาดับ
สาเหตุที่ทาให้พระพุทธเจ้าทรงประสบความสาเร็จในการก่อตั้งพระพุทธศาสนาที่แคว้นมคธ เป็นแห่งแรกแล้วค่อย ๆ แพร่หลายกลายเป็นศาสนาของคนส่วนใหญ่ในชมพูทวีปอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะ พระพุทธองค์ทรงประกอบด้วยพระคุณสมบัติ ดังนี้
๑) ทรงเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ทรงตรัสรู้จริง
๒) ทรงประกอบด้วยพระปัญญาคุณ พระวิสุทธิคุณ และพระมหากรุณาธิคุณ จึงทาให้ พระองคท์ รงบา เพญ็ พทุ ธกจิ ไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์นนั่ คอื พระปญั ญาและพระวสิ ทุ ธคิ ณุ ทา ใหพ้ ระองคท์ รงบรรลุ ประโยชน์จนถึงที่สุดแล้ว จากน้ันพระมหากรุณาธิคุณทาให้พระองค์ทรงมีเมตตาต่อมนุษยชาติอย่างไม่มี ขีดจากัด จึงทรงอุทิศพระองค์ออกโปรดสัตว์ต้ังแต่ตรัสรู้จนถึงวันสุดท้ายแห่งพระชนม์ชีพ โดยไม่ทรงเห็น แก่ความยากลาบากพระวรกาย
เม่ือพระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้แล้วพระองค์ ทรงตั้งพระทัยที่จะเผยแผ่คาสอน แก่สัตวโลกโดยทรงแสดงธรรม
ความเป็นมาของพระพุทธศาสนาและพุทธประวัติ 13


































































































   13   14   15   16   17