Page 24 - การบัญชีภาษีเงินได้นิติบุคคล
P. 24

14 การบัญชีภาษีเงินได้นิติบุคคล
เกินกว่า 3 เดือนนับแต่วันท่ีได้รับเงินปันผล และบริษัท ข ไม่ได้ถือหุ้นในบริษัท ก ไม่ว่าทางตรงหรือ ทางอ้อม ดังนั้นเงินปันผลท่ีบริษัท ก ได้รับไม่ต้องมารวมคําานวณกําาไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น ตามมาตรา 65 ทวิ (10) แห่งประมวลรัษฎากร
11) ดอกเบี้ยกู้ยืมท่ีอยู่ในบังคับต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ตามกฎหมายว่าด้วย ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ให้นําามารวมคําานวณเป็นรายได้เพียงเท่าที่เหลือจากถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ตาม กฎหมายดังกล่าว (ซ่ึงตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 ตามมาตรา 25 (10) ห้ามมิให้ น าํา ค า่ ด อ ก เ บ ย้ ี เ ง นิ ก ยู ้ มื ม า ถ อื เ ป น็ ร า ย จ า่ ย ใ น ก า ร ค าํา น ว ณ ก าํา ไ ร ส ทุ ธ เิ พ อื ่ เ ส ยี ภ า ษ เี ง นิ ไ ด ป้ โิ ต ร เ ล ยี ม แ ต ใ่ ห ย้ ก เ ว น้ ภาษีเงินได้แก่ผู้ได้รับดอกเบ้ีย โดยให้นําาเฉพาะส่วนท่ีเหลือจากถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายมาคําานวณเป็นรายได้)
12) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกําาไรท่ีอยู่ในบังคับต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย ไว้ตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ให้นําามารวมคําานวณเป็นรายได้เพียงเท่าท่ีเหลือจากถูกหัก ภาษี ณ ที่จ่ายไว้ตามกฎหมายดังกล่าว และหากผู้รับเป็นบริษัทจดทะเบียนหรือเป็นบริษัทที่ตั้งขึ้น ตามกฎหมายไทย ให้นําาบทบัญญัติข้อ 10) มาใช้บังคับโดยอนุโลม (ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ให้นําามาคําานวณเป็นรายได้เพียงกึ่งหน่ึง แต่หากเป็นบริษัทที่ต้ังขึ้นตามกฎหมายไทยและจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์ หรือเป็นบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แต่ถือหุ้นในบริษัทผู้จ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของหุ้นทั้งหมดที่มีสิทธิออกเสียงในบริษัทผู้จ่าย เงนิ ปนั ผล และบรษิ ทั ผจู้ า่ ยเงนิ ปนั ผลไมไ่ ดถ้ อื หนุ้ ในบรษิ ทั ผรู้ บั เงนิ ปนั ผลไมว่ า่ ทางตรงหรอื ทางออ้ ม ใหไ้ ด้ รับยกเว้นทั้งหมดด้วย)
13) มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซ่ึงมีรายได้ ไม่ต้องนําาเงินค่าลงทะเบียน หรือค่าบําารุงท่ีได้รับจากสมาชิก เงินหรือทรัพย์สินที่ได้รับจากการรับบริจาค หรือจากการให้โดยเสน่หา แล้วแต่กรณี มารวมคําานวณเป็นรายได้
14) ภาษีมูลค่าเพิ่ม ซ่ึงบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีเป็นผู้ประกอบการ จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มได้รับหรือพึงได้รับ และภาษีมูลค่าเพิ่มซึ่งได้รับคืนจากการขอคืน ไม่ต้องนําามา รวมคําานวณเป็นรายได้ (เน่ืองจากภาระภาษีมูลค่าเพ่ิมเป็นของผู้บริโภค บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ซงึ่เป็นผู้ประกอบการจดทะเบยีนภาษีมูลค่าเพ่ิมเป็นเพียงคนกลางทรี่ับภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วส่งตอ่ใหร้ัฐบาล ผ่านกรมสรรพากรเท่านั้น มิได้ถือเป็นรายได้ของกิจการแต่อย่างใด)
4.4.4 เง่ือนไขการคําานวณกําาไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (รายจ่ายต้องห้าม)
รายจ่ายต้องห้าม หมายถึงรายจ่ายท่ีเกิดข้ึนจากการดําาเนินกิจการของนิติบุคคล และได้มีการบันทึกบัญชีเป็นรายจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายการ แต่ในทางภาษีไม่ให้ถือเป็น รายจ่ายในการคําานวณกําาไรสุทธิ ขอบเขตรายจ่ายในการคําานวณกําาไรสุทธิเพื่อเสียของบริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล กําาหนดไว้ตามประมวลรัษฎากร
1) เงนิ สาํา รองตา่ งๆ เปน็ รายจา่ ยตอ้ งหา้ ม นอกจากเงนิ สาํา รองดงั ตอ่ ไปน้ี สามารถนาํา มา เป็นรายจ่ายในการคําานวณกําาไรสุทธิได้


































































































   22   23   24   25   26