Page 25 - การบัญชีภาษีเงินได้นิติบุคคล
P. 25
ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับภาษีเงินได้นิติบุคคล 15
(ก) เงินสําารองจากเบี้ยประกันภัยเพื่อสมทบทุนประกันชีวิตได้ไม่เกินร้อยละ 65 ของจําานวนเบ้ียประกันชีวิตที่ได้รับในรอบระยะเวลาบัญชีหลังจากหักเบี้ยประกันภัยซ่ึงเอาประกันภัยต่อ ออกแล้ว ถือเป็นรายจ่ายได้
(ข) เงินสําารองจากเบี้ยประกันภัยเพื่อสมทบทุนประกันภัยอ่ืนที่กันไว้ก่อนคําานวณ กําาไรเฉพาะส่วนที่ไม่เกินร้อยละ 40 ของจําานวนเบ้ียประกันภัยท่ีได้รับในรอบระยะเวลาบัญชีหลังจาก หักเบี้ยประกันภัยซ่ึงเอาประกันต่อออกแล้ว ถือเป็นรายจ่ายได้
(ค) เงินสําารองที่กันไว้เป็นค่าเผื่อหน้ีสูญหรือหน้ีสงสัยจะสูญสําาหรับหนี้ท่ีเกิดจาก การให้สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ หรือบริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ หรือบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ ให้กันไว้ตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์ หรือกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจ หลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ แต่กรณีเฉพาะส่วนที่ตั้งเพิ่มขึ้นจากเงินสําารองประเภทดังกล่าว ที่ปรากฏในงบดุลของรอบระยะเวลาบัญชีก่อน
เงินสําารองที่ตั้งข้ึนตามวรรคหนึ่งและได้นําามาถือเป็นรายจ่ายในการคําานวณกําาไร สทุ ธหิ รอื ขาดทนุ สทุ ธไิ ปแลว้ ในรอบระยะเวลาบญั ชใี ด ตอ่ มาหากมกี ารตงั้ เงนิ สาํา รองประเภทดงั กลา่ วลดลง ให้นําาเงินสําารองส่วนที่ต้ังลดลงซึ่งได้ถือเป็นรายจ่ายไปแล้วน้ันมารวมคําานวณเป็นรายได้ในรอบระยะเวลา บัญชีที่ตั้งเงินสําารองลดลงนั้น
2) เงนิ ทจี่ า่ ยเขา้ กองทนุ ใดๆ เปน็ รายจา่ ยตอ้ งหา้ ม เวน้ แตเ่ งนิ ทบ่ี รษิ ทั หรอื หา้ งหนุ้ สว่ น นิติบุคคลจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนสําารองเลี้ยงชีพตามพระราชบัญญัติกองทุนสําารองเลี้ยงชีพ ให้ถือเป็น รายจ่ายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีท่ีจ่ายเท่ากับจําานวนเงินที่บริษัทได้จ่ายสมทบเข้ากองทุนสําารองเลี้ยงชีพ ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีกําาหนดโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 183 (พ.ศ. 2533)
กองทุนสําารองเล้ียงชีพ หมายถึงกองทุนซ่ึงเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตาม พระราชบัญญัติกองทุนสําารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยมีลูกจ้างและนายจ้างตกลงกันจัดต้ังข้ึน และได้ จดทะเบียนตามพระราชบัญญัตินี้เพื่อเป็นหลักประกันแก่ลูกจ้างในกรณีที่ลูกจ้างตาย ออกจากงาน หรือ ลาออกจากกองทุน โดยลูกจ้างจ่ายเงินสะสมและนายจ้างจ่ายเงินสมทบตามหลักเกณฑ์ที่กําาหนดไว้ใน ข้อบังคับของกองทุนน้ัน
3) รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการส่วนตัว การให้โดยเสน่หา หรือการกุศล เป็น รายจา่ ยตอ้ งหา้ ม เวน้ แตร่ ายจา่ ยเพอื่ การกศุ ลสาธารณะหรอื เพอื่ การสาธารณะประโยชนต์ ามทอี่ ธบิ ดกี าํา หนด โดยอนุมัติรัฐมนตรีในส่วนที่ไม่เกินร้อยละ 2 ของกําาไรสุทธิ และรายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬา ตามที่อธิบดีกําาหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรีในส่วนที่ไม่เกินร้อยละ 2 ของกําาไรสุทธิ โดยให้เป็นไปตามท่ีอธิบดี กรมสรรพากรกาํา หนดโดยอนมุ ตั ริ ฐั มนตรี เชน่ พนกั งานของบรษิ ทั แหง่ หนงึ่ ทาํา งานดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ มาเป็นเวลานานได้ถึงแก่ความตายในขณะปฏิบัติหน้าท่ี บริษัทได้จ่ายเงินสมนาคุณจําานวนหน่ึงให้แก่ ครอบครวั ของลกู จา้ งผนู้ น้ั โดยไมม่ รี ะเบยี บแตอ่ ยา่ งใด เงนิ สมนาคณุ ทบี่ รษิ ทั จา่ ยใหก้ บั ครอบครวั ของลกู จา้ ง เป็นกรณีที่บริษัทจ่ายให้เองโดยไม่มีข้อบังคับและมิใช่เป็นการจ่ายตามกฎหมายหรือระเบียบใดๆ จึงเป็น