Page 29 - การบัญชีภาษีเงินได้นิติบุคคล
P. 29

ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับภาษีเงินได้นิติบุคคล 19
7) การถอนเงนิ โดยปราศจากคา่ ตอบแทนของผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นในหา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คล
เป็นรายจ่ายต้องห้าม หากมองตามหลักการบัญชีแล้ว การถอนเงินของผู้เป็นหุ้นส่วนไม่ถือเป็นรายจ่าย อยู่แล้ว เป็นการถอนเงินลงทุนหรือเป็นการแบ่งกําาไรกัน ไม่เก่ียวข้องกับการบันทึกรายจ่ายของกิจการ
แต่อย่างใด
8) เงนิ เดอื นของผถู้ อื หนุ้ หรอื ผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นเฉพาะสว่ นทจี่ า่ ยเกนิ สมควร เปน็ รายจา่ ย
ตอ้ งหา้ ม เจา้ พนกั งานมอี าํา นาจพจิ ารณารายจา่ ยประเภทเงนิ เดอื นของผถู้ อื หนุ้ หรอื ผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นเปรยี บเทยี บ กบั รายอนื่ ซง่ึ อยใู่ นฐานะหรอื ลกั ษณะเดยี วกนั อยใู่ นหนว่ ยงานเดยี วกนั หรอื ทาํา เลเดยี วกนั ประกอบกจิ การ ค้าอย่างเดียวกันหรือลักษณะเดียวกัน
9) รายจ่ายซ่ึงกําาหนดขึ้นเองโดยไม่มีการจ่ายจริง หรือรายจ่ายซึ่งควรจะได้จ่ายใน รอบระยะเวลาบญั ชอี นื่ เปน็ รายจา่ ยตอ้ งหา้ ม เวน้ แตใ่ นกรณที ไี่ มส่ ามารถจะลงจา่ ยในรอบระยะเวลาบญั ชี ใดก็อาจลงจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่ถัดไปได้
รายจ่ายท่ีกําาหนดขึ้นเองโดยไม่มีการจ่ายจริง หมายความถึงรายจ่ายใดๆ ที่บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้กําาหนดข้ึนเองโดยไม่มีการจ่ายจริง โดยไม่ได้รับทรัพย์สินหรือประโยชน์ใดๆ
เป็นการตอบแทน
10) ค่าตอบแทนแก่ทรัพย์สินซ่ึงบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเป็นเจ้าของเองและ ใช้เอง เป็นรายจ่ายต้องห้าม เช่น บริษัทตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศได้มาเปิดสําานักงานสาขา ในประเทศไทยโดยปลกู อาคารสาํา นกั งานสาขาในประเทศไทย และคดิ คา่ เชา่ ปลี ะ 600,000 บาท คา่ เชา่ จาํา นวน 600,000 บาทที่บริษัทสาขาในประเทศไทยจ่ายให้กับบริษัทสําานักงานใหญ่ในต่างประเทศนั้นจะนําามา ถือเป็นรายจ่ายในการคําานวณกําาไรสุทธิของบริษัทสาขาในประเทศไทยไม่ได้ เพราะกฎหมายถือได้ว่า บริษัทสําานักงานใหญ่ในต่างประเทศกับบริษัทสาขาในประเทศไทยเป็นนิติบุคคลเดียวกัน การจ่ายเงิน ค่าเช่าดังกล่าวถือได้ว่าเป็นค่าตอบแทนแก่ทรัพย์สินท่ีบริษัทเป็นเจ้าของเองและใช้เอง ตามมาตรา 65 ตรี (10) แห่งประมวลรัษฎากร
11) ดอกเบี้ยที่คิดให้สําาหรับเงินทุน เงินสําารองต่างๆ หรือเงินกองทุนของตนเอง
ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม
12) ผลเสียหายอันอาจได้กลับคืนเน่ืองจากการประกันหรือสัญญาคุ้มกันใดๆ หรือ ผลขาดทุนสุทธิในรอบระยะเวลาบัญชีก่อนๆ ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม เว้นแต่ผลขาดทุนสุทธิยกมา ไม่เกิน 5 ปีก่อนรอบระยะเวลาบัญชีปีปัจจุบัน กรณีความเสียหายนั้นมีทางที่จะได้รับการชดใช้ตามสัญญา แต่ถ้าได้รับค่าชดใช้เพียงบางส่วน ส่วนที่เหลือก็ลงเป็นรายจ่ายได้
ผลขาดทุนสุทธิ หมายถึงผลขาดทุนสุทธิทางภาษี คือผลต่างของรายได้กับรายจ่าย ท หี ่ กั ไ ด ต้ า ม ป ร ะ ม ว ล ร ษั ฎ า ก ร ซ ง่ ึ อ ย ภู ่ า ย ใ ต เ้ ง อื ่ น ไ ข ใ น ม า ต ร า 6 5 ท ว ิ แ ล ะ ม า ต ร า 6 5 ต ร ี แ ห ง่ ป ร ะ ม ว ล ร ษั ฎ า ก ร แล้ว


































































































   27   28   29   30   31