Page 101 - alro46
P. 101
ี
8.3 สร้างความเข้าใจให้กับเจ้าหน้าท่ให้มีความเข้าใจท่ตรงกันและเห็นเป้าหมายร่วมกัน
ี
ในการพัฒนา เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้ถูกต้อง และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
ี
ู
ั
ู
ิ
ิ
ี
ิ
8.4 ให้ความสาคญกบความถกต้องของข้อมลและการบรหารจดการข้อมลทมประสทธภาพ
ู
ั
�
ั
่
ื
มีการสารวจ ตรวจสอบปรับปรุงข้อมูลต่าง ๆ ให้มีความถูกต้องและทันสมัยอยู่เสมอ เน่องจากการ
�
ด�าเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเกษตรต้องใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในทุกขั้นตอน
ั
8.5 มีกลไกการติดตามและประเมินผลท่มีประสิทธิภาพ เพ่อให้เกิดความม่นใจว่า ได้มีการ
ี
ื
�
ดาเนินงานไปอย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยมีเป้าหมายในการติดตามผลเพ่อการประเมินคุณภาพ
ื
ี
ื
และความเหมาะสมของวิธีการและกลไกขับเคล่อนนโยบาย ติดตามผลการดาเนินงานท่ได้ว่าบรรลุผล
�
ี
ื
ั
ตามวัตถุประสงค์หรือไม่ และการประเมินผลการขับเคล่อนนโยบาย ปัญหา อุปสรรคท่พบ พร้อมท้ง
ข้อเสนอแนะส�าหรับการพัฒนาในระยะต่อไป
บทสรุปและข้อเสนอแนะ
การดาเนินงานด้านการพัฒนาเกษตรกรสู่ Smart Farmer ของ ส.ป.ก. เป็นการนานโยบาย
�
�
สาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มาขับเคล่อนเพ่อพัฒนาเกษตรกรในเขตปฏิรูปท่ดินให้ม ี
ื
�
ี
ื
ั
ิ
้
�
ิ
ู
่
ชวตความเป็นอย่ทดีขน ซงผลการดาเนนงานตงแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 - 2562 มเกษตรกร
ี
ี
ึ
้
ึ
ี
่
ที่ได้รับการพัฒนาสู่ Smart Farmer รวม 13,260 ราย ผ่านการประเมินเป็น Existing Smart Farmer
21,940 ราย และมี Smart Farmer ต้นแบบ 1,732 ราย จากการศึกษาพบว่า ถึงแม้จะมีการพัฒนา
�
่
ั
ี
ื
ี
เกษตรกรในเขตปฏิรูปท่ดินอย่างต่อเน่อง แต่เกษตรกรส่วนใหญ่ยังมีรายได้เฉล่ยตา ดังน้น การพัฒนา
ิ
่
ู
่
�
เกษตรกรส่ Smart Farmer เป็นเครองมอและกลไกสาคญอย่างยิงในการส่งเสรมและพฒนา
ั
ื
ื
ั
ขีดความสามารถของเกษตรกรในการแข่งขันท้งภาคการผลิตและบริการอย่างย่งยืน ข้อเสนอแนะ
ั
ั
ของผู้เขียนในการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่องให้เข้มแข็ง ได้แก่
ิ
ิ
ี
1. ควรเสรมสร้างองค์ความรู้ เทคโนโลยทางการเกษตรทเหมาะสม มีประสทธภาพ และ
ี
ิ
่
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้แก่เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง
2. ควรส่งเสริมให้เกษตรกรมีการสร้างเครือข่ายในการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการผลิต และ
การตลาด รวมท้งส่งเสริมและสนับสนุนการรวมกลุ่มของเกษตรกรเพ่อพัฒนาด้านการผลิต และ
ื
ั
การตลาดในรูปแบบขององค์กรเกษตร เช่น สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และวิสาหกิจชุมชน
ี
3. สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ โดยสร้างมาตรการจูงใจในการดึงคนรุ่นใหม่ท่พร้อม ตอบสนอง
เทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม่เข้าสู่ภาคเกษตร
ื
�
4. ทุกฝ่ายควรเช่อมโยง บูรณาการการทางานร่วมกัน เช่น การให้ข้อมูลข่าวสารและความรู้
เพื่อช่วยให้เกษตรกรสามารถท�าการเกษตรได้อย่างเหมาะสม
88 45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข
ี