Page 109 - alro46
P. 109
ื
ื
�
ี
แต่เดิมพ้นท่ดังกล่าวเป็นแปลงปลูกยูคาลิปตัสเม่อจัดให้เกษตรกรทากินเข้าทาประโยชน์จึงม ี
�
ี
�
ื
ื
ี
ื
การพัฒนาพ้นท่โดยตัดและขุดตอต้นยูคาลิปตัสออกจากพ้นท่จากน้นจึงทาการปรับพ้นท่และก่อสร้าง
ั
ี
โครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนน แหล่งน�้า สถานีสูบน�้าและหอถังพักสูง ระบบกระจายน�้า ส�านักงานสหกรณ์
ี
ื
ื
และบ้านพัก เพ่ออานวยความสะดวกในการอาศัยและทากินในพ้นท่ ในขณะเดียวกัน เกษตรกรก็ได้รับ
�
�
�
การพัฒนาแนวคิดและความรู้ในการประกอบอาชีพทางการเกษตร ซ่งในการดาเนินงาน สานักงาน
ึ
�
การปฏิรูปที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากภาคส่วนต่าง ๆ โดยเฉพาะภาคประชาชน
ในการร่วมคิด ร่วมทา และร่วมแก้ไขปัญหาในพ้นท่ โดยมีหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนให้การ
�
ี
ื
สนับสนุน
กระบวนกำรมีส่วนร่วมของประชำชน
ี
�
การมีส่วนร่วมเป็นรากฐานท่สาคัญในกระบวนการตัดสินใจและก่อให้เกิดการบริหารจัดการท่ด ี
ี
ี
โดยการมีส่วนร่วมท่เกิดจากการเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนในสังคม ชุมชน หรือองค์กรได้รับรู้ถึงปัญหา
ึ
ท่เกิดข้น ร่วมหาวิธีการแก้ไขปัญหา ร่วมตัดสินใจและวางแผน ปฏิบัติตามกิจกรรมหรือโครงการพัฒนา
ี
ื
ี
ตลอดจนติดตามและประเมินผลเพ่อให้การพัฒนาน้นบรรลุเป้าหมายท่ต้งใจ (สุวิภา ไพรีพินาศ, 2546
ั
ั
อ้างใน อภิชาติ ใจอารีย์, 2561)
ื
การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเป็นหลักสาคัญในการพัฒนาชุมชน เป็นกระบวนการส่อสาร
�
ิ
ั
สองทางทมเป้าหมายโดยรวมเพอท่จะให้เกดการตดสินใจทดขนและได้รบการสนับสนนจากสาธารณชน
ั
ี
่
ึ
้
ี
ี
ี
่
่
ุ
ี
ื
(กรมทรัพยากรน�้าบาดาล, มปป.) ซึ่งการมีส่วนร่วมของประชาชนมีความหมายใน 2 ลักษณะ กล่าวคือ
การมีส่วนร่วมในลักษณะเป็นกระบวนการของการพัฒนาโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการ
พัฒนาต้งแต่เร่มต้นจนส้นสุดโครงการ และความหมายในอีกลักษณะคือ การรับผลประโยชน์ท่เกิดข้นจาก
ิ
ั
ี
ิ
ึ
โครงการโดยโครงการจะต้องมีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชุมชน (ปาริชาติ วลัยเสถียร
และคณะ อ้างในนายสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย, 2558)
สาหรับการมีส่วนร่วมของประชาชนหรือ Public Participation Spectrum แบ่งออกเป็น
�
5 ระดับ (ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2557) ประกอบด้วย
ระดับที่ 1 การมีส่วนร่วมในระดับให้ข้อมูลข่าวสาร (To Inform) หน่วยงานรัฐให้ข้อมูลข่าวสาร
เก่ยวกับกิจกรรมต่าง ๆ แก่ประชาชน แม้ว่ารูปแบบน้จะเป็นการให้ข้อมูลทางเดียวจากภาครัฐสู่ประชาชน
ี
ี
ี
ี
�
และเป็นระดับท่ประชาชนมีส่วนร่วมน้อยท่สุด แต่ถือว่าเป็นข้นพ้นฐานของการมีส่วนร่วมและมีความสาคัญ
ื
ั
มากเพราะเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนในการเข้าถึงและได้รับข้อมูลข่าวสารของภาครัฐ
ระดับที่ 2 การมีส่วนร่วมในระดับการปรึกษาหารือ (To Consult) ประชาชนมีส่วนร่วมในการ
ี
�
ให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง และแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะเก่ยวกับการดาเนินงานของหน่วยงานของรัฐ
อย่างเป็นระบบ โดยหน่วยงานภาครัฐจัดกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างเป็นและ
ไม่เป็นทางการ เช่น การส�ารวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ และการเสวนากลุ่ม เพื่อน�าข้อเสนอแนะ
ข้อคิดเห็นของประชาชนไปเป็นแนวทางในการปรับปรุงหรือพัฒนานโยบาย/การด�าเนินงานของหน่วยงาน
96 45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข
ี