Page 114 - alro46
P. 114
�
�
พระอาจารย์มหาสุภาพ พุทธวิริโย เจ้าอาวาสวัดป่านาคา อาเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
ื
ี
เป็นพระวิทยากรอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรผู้ได้รับการจัดท่ดินเพ่อละลายพฤติกรรมและคัดกรอง
ผู้ที่ตั้งใจที่จะเป็นเกษตรกรอย่างแท้จริง
ั
2. ระยะกำรพฒนำโครงกำร (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 เป็นต้นมา) การด�าเนินงานในช่วงนี้
ิ
ี
ี
ิ
ี
่
ึ
ั
ิ
ุ
ุ
ิ
ุ
เครอข่ายหลมพอเพยงอนทรย์วถไทยของพระอาจารย์มหาสภาพ พทธวรโย ซงเป็นภาคประชาสงคม
ื
ี
เข้าร่วมเป็นภาคีความร่วมมือและเป็นกลไกท่สาคัญ (Key Actor) ในการขับเคล่อนงานพัฒนาโดย
ื
�
ี
ใช้หลักความพอเพียงและหลักธรรมะในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ได้รับการจัดท่ดินทากิน
�
ื
ั
ให้เกิดการมีส่วนร่วม ความเสียสละ ความมีวินัย และความสัตย์ซ่อของคนในชุมชน รวมท้งพัฒนา
องค์ความรู้ด้านเกษตรพอเพียงและเกษตรอินทรีย์ให้เกิดการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างยั่งยืน อีกทั้งประสาน
กับภาคเอกชนและ NGO คือ Top Supermarket และมูลนิธิรักษ์ดินรักษ์น�้า (Earth Safe Foundation)
ให้ความช่วยเหลือด้านการตลาดและมาตรฐานสินค้าเกษตรเพ่อให้โครงการฯ เกิดความสมดุลทั้ง
ื
ด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม สังคม รวมไปถึงด้านสุขภาพกายและใจ การด�าเนินการในช่วงนี้ กรมส่งเสริม
่
ุ
ี
ั
ั
สหกรณ์ปรบเปลยนบทบาทจากหน่วยงานร่วม (Partnership) เป็น Network manager สนบสนน
บุคลากรช่วยบริหารจัดการและเสริมสร้างให้กลุ่มมีความเข้มแข็ง ขณะเดียวกันส�านักงานการปฏิรูปที่ดิน
ิ
ั
จังหวัดกาฬสนธุ์ปรับบทบาทเป็นผู้อานวยความสะดวก (Facilitator) ส่งเสริมและสนบสนุน
�
�
�
การดาเนินงานในพ้นท่อย่างไรก็ตามสานักงานการปฏิรูปท่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ยังคงกากับดูแล
ื
ี
ี
�
การใช้ที่ดินให้เป็นไปตามระเบียบและข้อกฎหมายเช่นเดิม (ภาพที่ 3)
ภาพที่ 3 บทบาทภาคส่วนต่าง ๆ ในการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม
ี
45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข 101