Page 115 - alro46
P. 115
ผลที่เกิดขึ้นจำกโครงกำร
ผลที่เกิดขึ้นจากโครงการฯ สามารถแบ่งออกเป็น 4 ด้านหลัก ๆ ได้แก่
ิ
ิ
่
ั
่
ี
ู
1. การพัฒนาคน เกษตรกรผ้ได้รบการจดทดนส่วนใหญ่แต่เดมประกอบอาชพรับจ้างทวไป
ั
ี
ั
ึ
หรือทาการค้าจึงขาดความรู้และทักษะทางการเกษตร การอบรมอาชีพการเกษตรซ่งดาเนินการโดย
�
�
�
�
ื
ี
หน่วยงานต่าง ๆ ทาให้บุคคลกลุ่มดังกล่าวมีความรู้สาหรับการประกอบอาชีพในพ้นท่ เช่น เกษตรอินทรีย์
การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพ การเพาะเห็ด การแปรรูป การจัดการผลผลิตทางการเกษตร การตลาด เป็นต้น
ิ
ึ
ประกอบกับการปฏิบัติจริงในแปลงซ่งเป็นการพัฒนาตนเองเพ่มพูนประสบการณ์จนสามารถตัดสินใจ
เลือกการผลิตทางการเกษตรตามความถนัดและเหมาะกับตนเองและนาไปสู่การรวมกลุ่มอาชีพ
�
ื
ุ
เช่น กลุ่มผักหวานป่า กล่มหน่อไม้ฝร่ง กลุ่มผักอินทรีย์ กลุ่มไหมพ้นบ้าน สร้างรายได้ให้กับตนเองและ
ั
�
�
ครอบครัว ประการสาคัญเกษตรกรผู้ได้รับการจัดท่ดินบางรายสามารถพัฒนาตนเองเป็นผู้นาหรือ
ี
เกษตรกรต้นแบบถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชนได้
ี
�
ี
2. เศรษฐกิจในครัวเรือน ก่อนได้รับการจัดท่ดินทากิน ผู้ได้รับการจัดท่ดินมีรายได้เฉล่ยต่อคน
ี
ประมาณ 37,823 บาทต่อปี แต่เม่อได้รับการจัดท่ดินและทาการเกษตรตามความถนัดรายได้เพ่มข้น
ื
ี
ึ
ิ
�
เป็น 40,969 บาทต่อคนต่อปี ส่วนรายได้เฉล่ยของครัวเรือนอยู่ท่ 79,357 บาทต่อปี และรายได้เสริม
ี
ี
ี
จากการทาเกษตรต่อครัวเรือน 27,000 บาทต่อปี นอกจากรายได้ท่เพ่มข้นแล้ว ผู้ได้รับการจัดท่ดิน
ึ
�
ี
ิ
ยังลดค่าใช้จ่ายในส่วนของค่าอาหารในครัวเรือนโดยบริโภคผลผลิตทางการเกษตรในแปลงตนเอง
ื
ื
ี
ื
3. การพัฒนาดิน แต่เดิมในพ้นท่โครงการฯ ดินมีสภาพเส่อมโทรมเน่องจากเป็นแปลงปลูก
ยูคาลิปตัสซ่งจากการศึกษาของเดชชัย ศิริกาญจน์ (2532) จักรกฤษณ์ หอมจันทร์ และคณะ (2532)
ึ
ิ
ิ
และ Sanginga and Swift (1992) (อ้างในเพ่มศักด์ มกราภิรมย์, 2551) พบว่าการปลูกยูคาลิปตัส
ื
ั
ี
เชิงเด่ยวในพ้นท่ขนาดใหญ่เป็นจานวนมากมีผลกระทบต่อดินท้งด้านการยับย้งกระบวนการฟื้นฟูดิน
ั
ี
�
ทางธรรมชาติ และการงอกและการเจริญเติบโตของพืชอื่นอย่างชัดเจน ในพื้นที่โครงการฯ เมื่อเกษตรกร
ี
ี
ผู้ได้รับการจัดท่ดินกับภาคส่วนต่าง ๆ ร่วมกันปรับเปล่ยนรูปแบบการใช้ประโยชน์ท่ดินเป็นการปลูกพืช
ี
ผสมผสาน บารุงดินด้วยปุ๋ยหมักชีวภาพ และใช้สารกาจัดศัตรูพืชจากธรรมชาติ ประกอบกับการพัฒนา
�
�
แหล่งน�้าเพื่อการเกษตรในพื้นที่จึงท�าให้ผืนดินสามารถปลูกพืชผักต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
�
�
ิ
4. ครอบครัวเกษตรกร ผู้ได้รับการจัดท่ดินส่วนใหญ่ทางานรับจ้างต่างถ่นและไม่มีท่ดินทากิน
ี
ี
หรือไม่มีท่อยู่อาศัยเป็นของตนเองต้องเช่าท่อยู่อาศัยหรืออาศัยผู้อ่น แต่เม่อได้รับการจัดที่ดินทาให้
ื
ี
ี
ื
�
ั
่
ี
�
ครอบครัวมีความมนคงทงด้านท่อยู่อาศัยและการประกอบอาชีพ ท่สาคญสมาชิกได้อยู่พร้อมหน้าช่วยกัน
ี
้
ั
ั
ท�าการเกษตรในที่ดินที่ได้รับการจัดสรร และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
102 45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข
ี