Page 110 - alro46
P. 110
่
ั
ี
ระดบท 3 การมีส่วนร่วมในระดับให้เข้ามามีบทบาท (To Involve) ประชาชนมีส่วนร่วมหรือ
เกี่ยวข้องในกระบวนการวางแผนและตัดสินใจ โดยอาจจะอยู่ในรูปแบบกรรมการที่มีตัวแทนภาคประชาชน
ี
เข้าร่วม มีการแลกเปล่ยนความคิดเห็นและข้อมูลระหว่างหน่วยงานของรัฐกับประชาชนอย่างจริงจัง
และมีจุดมุ่งหมายชัดเจน โดยหน่วยงานของรัฐจัดระบบอานวยความสะดวกและยอมรับการเสนอแนะ
�
และมีการตัดสินใจร่วมกับภาคประชาชน
ี
่
ั
ระดบท 4 การมีส่วนร่วมในระดับสร้างความร่วมมือ (To Collaborate) ประชาชนมีส่วนร่วม
ั
เป็นอย่างมากโดยประชาชนมีส่วนร่วมในทุกข้นตอนของการตัดสินใจ ต้งแต่การระบุปัญหา พัฒนาทาง
ั
้
ื
ึ
ั
ี
่
ิ
ี
ั
ิ
�
เลอก และแนวทางแก้ไข รวมทงเป็นภาคในการดาเนนกจกรรมของหน่วยงานของรฐ ซงการมส่วนร่วม
ี
�
ในระดับน้ หน่วยงานของรัฐ ประชาชนและกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียดาเนินงานร่วมกัน และหน่วยงาน
ึ
�
ี
ของรัฐนาแนวคิดหรือข้อเสนอแนะของประชาชนมาเป็นส่วนหน่งของกระบวนการตัดสินใจให้มากท่สุด
เท่าที่จะท�าได้
ระดับที่ 5 การมีส่วนร่วมในระดับเสริมอ�านาจประชาชน (To Empower) เป็นระดับที่ประชาชน
ิ
ี
ั
มบทบาทในระดับสงสุด ประชาชนมบทบาทในการตัดสนใจซงผลการตดสนใจมผลผูกพนให้หน่วยงาน
่
ึ
ู
ิ
ี
ี
ั
ของรัฐจะต้องด�าเนินการตามการตัดสินใจของประชาชน การมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับนี้ เน้นให้
ประชาชนมีบทบาทในการบริหารจัดการโดยเป็นผู้ด�าเนินภารกิจ ส่วนภาครัฐมีหน้าที่เพียงส่งเสริมสนับสนุน
เท่านั้น ซึ่งการมีส่วนร่วมในระดับนี้จะก่อให้เกิดการเรียนรู้ ความเข้าใจและความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกัน
กำรมีส่วนร่วมของประชำชนภำยใต้โครงกำรจัดที่ดินท�ำกินให้ชุมชน
ั
การมส่วนร่วมของประชาชนนามาใช้ในหลาย ๆ โครงการของภาครฐตามแนวทางธรรมาภบาล
ิ
�
ี
�
ี
ี
และการบริหารจัดการบ้านเมืองท่ดีท่มุ่งเน้นให้ความสาคัญกับประชาชน ซ่งการจัดท่ดินทากินให้ชุมชน
ึ
ี
�
�
ี
ื
�
โดยนาท่ดินของรัฐมาจัดให้เกษตรกรต้องคานึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนเพ่อให้การใช้ประโยชน์
ึ
ในท่ดินเกิดประโยชน์สูงสุดและสามารถแก้ไขปัญหาความยากจนของเกษตรกรได้ในระดับหน่ง
ี
(วิรัญ วันเต็ม, 2553 อ้างในธวัชชัย อินทร์พรม และ พันต�ารวจเอก ดร. การุณย์ บัวเผื่อน, 2557)
�
�
ี
ิ
�
่
�
สาหรับโครงการจดทดินทากนให้ชมชนในเขตปฏรูปท่ดินตาบลนาจาปา อาเภอดอนจาน
ั
ี
ิ
�
ุ
จังหวัดกาฬสินธุ์ ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนท้งคนในชุมชนผู้ได้รับการจัดท่ดินทากิน
ั
�
ี
�
ี
ั
ื
และภาคส่วนอ่น ๆ เน่องจากเกษตรกรผู้ได้รับการจัดท่ดินทากินไม่ใช่คนในชุมชน อีกท้งยังมีท่มาและ
�
ื
ี
ื
�
ื
ี
�
ี
ั
พ้นหลังท่แตกต่างกัน ดังน้นการสร้างความมีส่วนร่วมจึงมีความจาเป็นเพ่อให้โครงการจัดท่ดินทากิน
ให้ชุมชนประสบความส�าเร็จซึ่งการมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการนี้สามารถสรุปได้ดังนี้
ระดับที่ 1 กำรให้ข้อมูลข่ำวสำร ส�านักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ประชาสัมพันธ์
�
ิ
โครงการจัดท่ดินทากินให้ชุมชนผ่านวิทยุท้องถ่น ติดต้งป้ายไวนิล และติดประกาศตามหน่วยงานราชการ
ี
ั
�
ี
เช่น ท่ว่าการอาเภอ องค์การบริหารส่วนตาบลต่าง ๆ ซ่งการประกาศน้เป็นการให้ข้อมูลแก่ผู้ท่ต้องการ
ี
ี
�
ึ
ี
ี
ท่ดินทากินและประชาชนในพ้นท่ โดยผู้สนใจท่มีคุณสมบัติตามประกาศคือ เกษตรกรผู้ยากไร้ไม่มีท่ดิน
�
ื
ี
ี
ี
45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข 97