Page 116 - alro46
P. 116
ั
ปจจัยที่ส่งผลต่อควำมส�ำเร็จ
ปัจจัยหลัก 4 ประการที่มีผลต่อความส�าเร็จของโครงการฯ ประกอบด้วย
ี
ี
ี
1. ภาคส่วนท่เก่ยวข้อง หมายถึงหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนท่ให้
ั
ความช่วยเหลือ สนับสนุนและส่งเสริมการดาเนินงานในด้านต่าง ๆ ต้งแต่การคัดเลือกเกษตรกรผู้ท่จะ
ี
�
ได้รับการจัดที่ดินท�ากิน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การให้ความรู้ ค�าแนะน�า และการตลาดส�าหรับการ
�
ี
ั
�
ประกอบอาชีพและการดารงชีวิตของเกษตรกรผู้ได้รับการจัดท่ดิน รวมท้งการดาเนินงานของสหกรณ์ฯ
อย่างต่อเนื่อง
ี
2. การประสานงานและความสัมพันธ์ท่ดีระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ การดาเนินงานเป็นใน
�
ลักษณะเครือข่ายภาคีไม่ใช่การทางานโดยภาคส่วนใดเพียงส่วนเดียว แต่เป็นการประสานการท�างาน
�
ื
ี
ร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาคประชาชนในพ้นท่ และภาคเอกชนเพ่อขับเคล่อนงานในพ้นท่โครงการฯ
ี
ื
ื
ื
ให้ประสบความส�าเร็จ
ั
ั
ู
ิ
ั
ู
ั
ี
่
ิ
่
ี
ิ
ื
่
ั
3. การพฒนาแนวคดผ้ได้รบการจดทดน เนองจากเกษตรกรผ้ได้รบการจดทดนมาจาก
ื
ี
ั
ี
หลากหลายพ้นท่และหลากหลายอาชีพ ดังน้นการพัฒนาเกษตรกรผู้ได้รับการจัดท่ดินให้มีความรัก
ั
�
ั
และความสามัคคีกัน รวมท้งเช่อม่นในการประกอบอาชีพเกษตรกรรมแบบเกษตรผสมผสานทาให้
ื
ี
ี
ื
ิ
เกษตรกรผู้ได้รับการจัดท่ดินสามารถอยู่ในแปลงท่ดินไม่ละท้งท่ดินออกไปทางานรับจ้างนอกพ้นท ่ ี
�
ี
ขณะเดียวกันก็สามารถอยู่ร่วมกับชุมชนเดิมได้อย่างเหมาะสม
4. การสนับสนุนอย่างต่อเน่องของภาครัฐ การจัดท่ดินทากินชุมชนเป็นนโยบายสาคัญของ
ี
ื
�
�
ั
้
้
ั
รฐบาลในการแก้ไขปัญหาความยากจนของเกษตรกร ดงนนหน่วยงานภาครฐทงส่วนกลางและส่วนภมภาค
ั
ั
ู
ิ
ั
ให้การสนับสนุนงบประมาณ เจ้าหน้าท่ เคร่องจักรกล และปัจจัยการผลิตในการดาเนินงานอย่าง
ื
�
ี
เต็มความสามารถ
ื
ต้นแบบในกำรขับเคลื่อนกำรท�ำงำนแบบมีส่วนร่วมเพ่อน�ำไปสู่กำรขยำยผล
โครงการจัดที่ดินท�ากินชุมชนในเขตปฏิรูปที่ดินต�าบลนาจ�าปา อ�าเภอดอนจาน จังหวัดกาฬสินธุ์
�
ี
ี
เป็นโครงการจัดท่ดินทากินท่เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างต่อเนื่องโดยมีหน่วยงานภาครัฐ
�
และภาคเอกชนให้การสนับสนุนและส่งเสริมให้กิจกรรมต่าง ๆ ภายใต้โครงการสามารถดาเนินต่อไปได้
ึ
ื
�
ซ่งรูปแบบและวิธีปฏิบัติแบบมีส่วนร่วมในการดาเนินโครงการฯ สามารถสรุปเพ่อเป็นต้นแบบในการ
ขับเคลื่อนและขยายผลการท�างานแบบมีส่วนร่วมในโครงการจัดที่ดินท�ากินอื่น ๆ ดังนี้ (ภาพที่ 2)
�
�
1. การวางแผนและประสานการทางานระหว่างหน่วยงาน/ภาคส่วนต่าง ๆ ในรูปแบบการทางาน
เชิงบูรณาการในพ้นท่ โดยกาหนดบทบาทของแต่ละหน่วยงาน/ภาคส่วนให้ชัดเจนเพ่อความสะดวก
�
ื
ี
ื
้
ั
ในการประสานงานของผู้ร่วมโครงการทงหน่วยปฏิบัติ ชุมชน และเกษตรกรโดยบทบาทของหน่วยงาน/
ภาคส่วนสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามเป้าหมายด�าเนินงานในแต่ละขั้นตอน ซึ่งในกรณีของโครงการ ฯ นี้
�
ช่วงแรกของการดาเนินการ สานักงานการปฏิรูปท่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์มีบทบาทเป็น Network Manager
ี
�
ี
45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข 103