Page 123 - alro46
P. 123

2. กำรด�ำเนินโครงกำรบนหลักกำรมีส่วนร่วมของประชำชน

                  การมีส่วนร่วมของประชาชน (Public Participation) หมายถึง การท่หน่วยงานภาครัฐ
                                                                              ี
                                             �
           เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าไปร่วมในการกาหนดกฎเกณฑ์ นโยบาย กระบวนการบริหารและตัดสินใจ
                       ื
                       ่
                                                                                  ้
                                                                                  ื
                ุ
                                                                    ้
                                                                    ั
                                                                 ิ
                                                                             ู
                                                                       ้
                                                                       ี
           ของชมชน เพอผลประโยชน์ของประชาชนโดยส่วนรวมอย่างแท้จรง ทงน ต้องอย่บนพนฐานของการ
                                                                                           ี
             ี
           ท่ประชาชนจะต้องมีอิสระทางความคิด มีความรู้ความสามารถในการกระทา และมีความเต็มใจท่จะ
                                                                         �
           เข้าร่วมต่อกิจกรรมนั้น ๆ (อรทัย ก๊กผล, 2552 หน้า 17-18) สมาคมนานาชาติด้านการมีส่วนร่วมสากล
           หรือ International Association for Public Participation: IAP2 (2562) แบ่งการมีส่วนร่วม
           ของประชาชนออกเป็น 5 ระดับ คือ ระดับการให้ข้อมูล (Inform) ระดับการรับฟังความคิดเห็น
           (Consult) ระดับการเข้ามามีบทบาทร่วมคิดร่วมวางแผน (Involve) ระดับการมีส่วนร่วมดาเนินการ
                                                                                     �
           ตัดสินใจและประเมินผล (Collaborate) และระดับการมีบทบาทของประชาชนในการเป็นผู้ตัดสินใจ
           (Empower) เรียกว่า Public Participation Spectrum ทั้งนี้ โครงการนิคมเศรษฐกิจพอเพียงอ�าเภอ
              �
           วังน้าเขียว ได้นาหลักการดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในข้นตอนการดาเนินงาน เกิดเป็นหลักการทางานแบบ
                        �
                                                              �
                                                                                     �
                                                     ั
           มีส่วนร่วม “8ร” ประกอบด้วย ร่วมรับรู้ ร่วมให้ข้อมูล ร่วมวางแผน ร่วมขับเคล่อน ร่วมตัดสินใจ
                                                                               ื
           ร่วมประเมินผล ร่วมรับผลประโยชน์ และร่วมขยายผล ดังนี้
                              ้
                  2.1  กำรสรำงกำรรับรู้และช้แจงโครงกำร  โดยการจัดประชาคมให้กลุ่มเกษตรกร
                                               ี
           ในพ้นท่รับรู้และเข้าใจโครงการ และมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลเพ่อวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอก
               ื
                 ี
                                                               ื
           ของชุมชน รวมทั้งร่วมแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการพัฒนาและวางแผนการผลิตสินค้าตามศักยภาพ
           ของชุมชนและความต้องการของตลาด
                  2.2  กำรพฒนำศักยภำพเกษตรกร  เกษตรกรจะได้รับการพัฒนาศักยภาพในด้าน
                             ั
           การผลิตสินค้าเกษตรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงตามหลักการเรียนรู้แบบ Learning by Doing
                                                 ั
                                                   ั
                                                   ้
                                                             ู
                                                         ี
           เน้นการมส่วนร่วมและขบเคลอนโดยเกษตรกร จดตงศนย์เรยนร้เศรษฐกิจพอเพยง สนบสนนการรวมกลุ่ม
                                                     ู
                                                                                  ุ
                   ี
                                                                         ี
                              ั
                                  ื
                                  ่
                                                                              ั
                                                                          �
           การผลิตโดยสมาชิกร่วมคัดเลือกประธานกลุ่มและคณะกรรมการ  เพ่อทาหน้าท่บริหารจัดการ
                                                                                 ี
                                                                       ื
                                                                �
                                                                                   ั
                �
                                      ี
                                ั
           การดาเนินงานกลุ่ม ในข้นตอนน้เกษตรกรเป็นหัวใจหลักในการดาเนินการ มีส่วนร่วมต้งแต่ร่วมรับรู้
           ให้ข้อมูล ขับเคลื่อน และตัดสินใจ
                  2.3 กำรจัดท�ำแผนกำรผลิตสินคำเกษตร  (Crop  Calendar)  ส.ป.ก.
                                                     ้
           จังหวัดส่งเสริมองค์ความรู้ในการจัดทาแผนการผลิตให้แก่กลุ่มเกษตรกร สนับสนุนให้กลุ่มผู้ผลิตสินค้า
                                         �
                                               �
                                                       ื
           มีการจัดเวทีประชุมคณะกรรมการอย่างสมาเสมอเพ่อวางแผนการผลิตของสมาชิกให้สอดคล้องกับ
                                               ่
           ความต้องการของตลาด และมช่วงการผลตเหลือมกนเพอให้มผลผลตต่อเนอง พร้อมทงช่วยประสาน
                                                                                 ้
                                                                                 ั
                                                                  ิ
                                                  ่
                                             ิ
                                                     ั
                                                         ื
                                                             ี
                                                         ่
                                                                        ่
                                                                        ื
                                    ี
           แหล่งเงินทุน เช่น ธนาคารเพ่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เพ่อขอรับการสนับสนุน
                                                                            ื
                                    ื
           ตามแผนของกลุ่มให้เกษตรมีส่วนร่วมรับรู้ ให้ข้อมูลวางแผน ขับเคลื่อน และตัดสินใจ
         110   45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข
                  ี
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128