Page 124 - alro46
P. 124
2.4 กำรบูรณำกำรกับหน่วยงำนต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเข้ามาสนับสนุนทั้งการ
ื
ี
�
้
ี
ื
�
ี
�
พัฒนาพ้นท่ แหล่งนา องค์ความรู้ วัสดุอุปกรณ์ สินเช่อ การให้คาแนะนาเก่ยวกับเทคโนโลยใหม่ ๆ
ในการผลต การตรวจสอบรบรองผลผลตโดยการมส่วนร่วมของเกษตรกร (Participatory Guarantee
ิ
ิ
ี
ั
Systems: PGS) ซ่งมีหน่วยงานภาคี ท้งภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม ท้งยังสร้างความร่วมมือกับ
ั
ึ
ั
ปราชญ์เกษตรเพ่อสร้างเวทีในการแลกเปล่ยนองค์ความรู้ให้กับเกษตรกร เป็นการสร้างเครือข่ายความ
ื
ี
ร่วมมือทั้งในแนวราบและแนวดิ่ง ผ่านการวิจัยแบบมีส่วนร่วม และการจัดเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้
่
2.5 กำรประเมินผลอยำงมีส่วนร่วม โดยให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการเรียนรู้
�
�
ี
ี
ิ
�
ผลการดาเนินงานร่วมกัน มีการถอดบทเรียนวิเคราะห์ปัจจัยท่ทาให้ประสบความสาเร็จและส่งท่เป็น
อุปสรรค ทาให้สมาชิกได้ศึกษาเรียนรู้อย่างเป็นระบบเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาและการพัฒนา
�
ี
ร่วมกัน นอกจากน้ยังมีการประเมินผลกระบวนการทางานอย่างมีส่วนร่วมของโครงการจากผู้มีส่วนได้
�
�
ส่วนเสีย เพ่อนามาปรับปรุงการดาเนินงานในอนาคต เป็นการเปิดโอกาสให้ภาคีร่วมให้ข้อมูลและ
�
ื
ประเมินผล ผ่านการสนทนากลุ่มย่อย และการสัมภาษณ์รายบุคคล
้
ู
2.6 กำรขยำยผลองค์ควำมร ด้านวิทยาการในการผลิตสินค้าเกษตรปลอดสารพิษ
ท่มีคุณภาพมาตรฐานและเป็นมิตรกับส่งแวดล้อม การใช้เทคโนโลยีท่เหมาะสมในการลดต้นทุนและ
ี
ิ
ี
ู
ู
ี
ุ
ี
ั
่
ื
การเชอมโยงตลาดในลกษณะเป็นศนย์เรยนร้เศรษฐกจพอเพยงให้กบเกษตรกร กล่มเกษตรกร หรอ
ิ
ั
ื
ิ
ี
ั
่
บคคลทวไปได้เข้ามาศกษาเรยนรู้และนาไปเป็นแนวทางปฏบัติได้ เป็นการมส่วนร่วมในการขยายผล
ุ
ึ
�
ี
องค์ความรู้ของเกษตรกร
3. กำรมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ิ
ี
การขบเคลอนการดาเนนโครงการเน้นการมส่วนร่วมของประชาชนและผ้มส่วนได้ส่วนเสย
ี
ู
่
ื
ั
ี
�
ซึ่งแต่ละภาคส่วนมีบทบาท ดังนี้
3.1 ผ้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก คือ ส.ป.ก. จังหวัดนครราชสีมา ซ่งเป็นหน่วยงานท ่ ี
ู
ึ
รับผิดชอบในการด�าเนินโครงการนิคมเศรษฐกิจพอเพียงอ�าเภอวังน�้าเขียว ในช่วงเริ่มต้นโครงการ ส.ป.ก.
จังหวัดมีบทบาทเป็นกลไกหลัก (Key Actor) ในการวางแผนพัฒนาพื้นที่และโครงสร้างพื้นฐาน รวมทั้ง
เป็นหลักในการผลักดันและสนับสนุนให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของเกษตรกรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ั
ึ
ื
อย่างไรก็ตามเป้าหมายการพัฒนาคือการให้เกษตรกรสามารถพ่งพาตนเองและชุมชนได้ ดังน้น เม่อม ี
ึ
การพัฒนาส่งเสริมเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งในระดับหน่ง ส.ป.ก. จังหวัดจึงได้ลดบทบาทลงสู่การเป็น
ผู้ส่งเสริมสนับสนุน (Facilitator) ให้เกษตรกรเป็นผู้ขับเคลื่อนหลักของโครงการ
45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข 111
ี