Page 125 - alro46
P. 125

3.2 ผ้มีส่วนได้ส่วนเสียตรง  คือ เกษตรกรในโครงการ ซ่งมีบทบาทเป็นกลไกหลัก
                        ู
                                                                        ึ
                                                                           ั
                                                �
           (Key Actor) ในการพัฒนาขับเคล่อนการดาเนินการโครงการ มีส่วนร่วมต้งแต่กระบวนการรับรู้
                                         ื
                  ี
                                                     �
                                                                    ื
           แลกเปล่ยนข้อมูล วางแผนการพัฒนา เป็นส่วนสาคัญในการขับเคล่อน ตัดสินใจ และประเมินผล
                                           ี
                                                                     ี
           ท้งยังเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรง ท่ร่วมรับผลประโยชน์และความเส่ยงต่าง ๆ และเป็นผู้ขยายผล
             ั
           องค์ความรู้ให้แก่บุคคลภายนอก
                  3.3 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง ได้แก่ ภาคเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
                                                                                       ุ
                                                                       ุ
                       3.3.1 ปรำชญ์เกษตรและประธำนคณะกรรมกำรกล่มอำชีพ  12  กล่ม  ซึ่งมี
           บทบาทเป็นผู้จัดการเครือข่าย (Network Manager) เป็นผู้ประสานงานบูรณาการเครือข่ายต่าง ๆ เพื่อ
           การแลกเปล่ยนองค์ความรู้ด้านการทาการเกษตร การแปรรูป และการตลาด กลุ่มเครือข่ายเกษตรกร
                     ี
                                         �
             ี
           ท่เป็นภาคีเครือข่ายกับกลุ่มเกษตรกรในนิคม ได้แก่ สวนลุงโชค กลุ่มเกษตรกรตาบลไทยสามัคค  ี
                                                                                �
           กลุ่มอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่อ�าเภอวังน�้าเขียว เป็นต้น
                       3.3.2 ภำคีเครือข่ำยอื่น ๆ เช่น หน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา และภาคเอกชน
             ี
                                                                                         �
                           ั
           ท่เข้ามามีบทบาทท้งการเป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุน (Facilitator) และหุ้นส่วนความร่วมมือการทางาน
           (Partnership) ได้แก่ 1) ส�านักงานเกษตรจังหวัดและส�านักงานเกษตรอ�าเภอ มีบทบาทเป็นผู้สนับสนุน
           เทคโนโลยีการผลิตสินค้าเกษตรให้ได้คุณภาพมาตรฐาน การท�าเกษตรทฤษฎีใหม่ และการบริหารจัดการ
           ภาคธุรกิจ, 2) ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรจังหวัด มีบทบาทสนับสนุนการตรวจรับรองมาตรฐาน
                                           ี
           สินค้าเกษตร, 3) ม. เทคโนโลยีสุรนาร มีบทบาทสนับสนุนเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์, 4) ธ.ก.ส.
           มีบทบาทสนับสนุนด้านเงินทุน การให้สินเชื่อตามความต้องการและแผนการผลิตของสมาชิก, 5) ส�านักงาน
                          �
           พัฒนาท่ดินและสานักงานชลประทาน มีบทบาทในการสนับสนุนช่วยเหลือในการพัฒนาพ้นท่และ
                                                                                         ี
                  ี
                                                                                      ื
                                                                                            �
                                                                                   �
                     ื
           โครงสร้างพ้นฐาน, 6) สหกรณ์กสิกรรมไร้สารพิษ มีบทบาทเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือการทางาน จัดทา
                                                                      �
                                                                            ี
                                                                                            ื
                          ื
           ข้อตกลงการรับซ้อผลิตผลทางการเกษตรของเกษตรกรสมาชิก และทาหน้าท่รวบรวมผลผลิตเพ่อ
                                                                       ี
           จัดจาหน่ายสินค้าไปยังตลาดในระดับต่าง ๆ เพ่อให้เกษตรกรมีรายได้ท่เพียงพอและต่อเน่อง และ
                                                                                      ื
               �
                                                   ื
           7) บริษัท Natural Premium Food, บริษัท ทวีผลการเกษตร จ�ากัด และ รังสิตฟาร์ม มีบทบาทเป็น
                                                                                      ี
           หุ้นส่วนความร่วมมือการทางานจัดทาข้อตกลงในการรับซ้อผลิตผลจากเกษตรกร และแลกเปล่ยนข้อมูล
                                                        ื
                                �
                                        �
           ด้านราคา ความต้องการบริโภคสินค้าเกษตร ตลอดจนการพัฒนาบรรจุภัณฑ์
           4. ผลสัมฤทธิ์ของโครงกำรและปจจัยที่ส่งผลต่อควำมส�ำเร็จ
                                                ั
                  จากการด�าเนินการแบบมีส่วนร่วมอย่างต่อเนื่องทุกภาคส่วน เกิดผลสัมฤทธิ์ของโครงการ ดังนี้
                  4.1  ดำนเศรษฐกิจ  เกษตรกรมีการผลิตสินค้าปลอดสารพิษถึงตลาดสินค้าอินทรีย์
                        ้
                                               ิ
                                                              ี
                                                                                  ึ
           ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เกิดผลสัมฤทธ์เชิงประจักษ์ ดังน้ 1) เกษตรกรสามารถพ่งพาตนเองได้
                                                                                            �
           มีการลดต้นทุนจากการผลิตเมล็ดพันธุ์ผัก การจัดการฟาร์มด้วยระบบ Zero Waste และการทา
          112  45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข
                  ี
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130