Page 130 - alro46
P. 130
ั
ี
ี
ั
เกษตรกรออกเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มข้นท่ 1 (เร่มต้นใหม่) กลุ่มข้นท่ 2 (ปรับเปล่ยนพร้อม
ี
ิ
ู
่
ุ
ั
ั
ี
้
ื
ั
ยกระดบ) และกล่มขนท 3 (พร้อมเข้าส่กระบวนการรบรอง) ซงแต่ละกล่มจะร่วมวางแผนเพอพฒนา
่
ุ
ึ
ั
่
ในประเด็นที่สอดคล้องกับตนเอง
ี
จังหวัดยโสธรเป็นจังหวัดท่มีเป้าหมายพัฒนาเป็นเมืองแห่งเกษตรอินทรีย์ตามวิสัยทัศน์ของ
ื
ื
ิ
ั
ี
ิ
ี
ี
จงหวดยโสธร “ยโสธรเมองเกษตรอนทรย์ เมองแห่งวถอีสาน” และมนโยบายให้ทุกภาคส่วนสนับสนุน
ั
�
ี
�
�
ื
การทาเกษตรอินทรีย์ครอบคลุมท้ง 9 อาเภอ มีพ้นท่ทาเกษตรอินทรีย์จานวน 40,000 ไร่ เพ่อร่วมกัน
ั
ื
�
สร้างยโสธรโมเดล เป็นจังหวัดต้นแบบด้านเกษตรอินทรีย์เพ่อก้าวสู่ตลาดโลก ในส่วนของสานักงาน
ื
�
�
ี
ื
การปฏิรูปท่ดินจังหวัดยโสธร (ส.ป.ก. ยโสธร) ได้จัดทาโครงการส่งเสริมการผลิตเกษตรอินทรีย์ในพ้นท ี ่
แปลงใหญ่จังหวัดยโสธร 4 ต�าบล ใน 2 อ�าเภอ พื้นที่เป้าหมาย ประมาณ 5,000 ไร่ ได้แก่ ต�าบลก�าแมด
�
ื
�
�
�
ตาบลโพนงาม และตาบลหนองแหน อาเภอกุดชุม รวมพ้นท่ 3,500 ไร่ และตาบลโคกสาราญ อาเภอ
ี
�
�
เลิงนกทา ประมาณ 1,500 ไร่
ื
ตาบลโคกสาราญเป็นหน่งในพ้นท่ดาเนินการ โครงการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในเขตปฏิรูปท่ดิน
�
ี
ึ
�
�
ี
ี
ั
่
้
ื
ุ
ู
้
ั
ตงอยู่ห่างจากจังหวดยโสธร 79 กโลเมตร มีพนทรวม 85 ตารางกิโลเมตร ครอบคลม 15 หม่บ้าน
ิ
2,842 ครัวเรือน พื้นที่ความรับผิดชอบในเขตปฏิรูปที่ดิน คือ ชุมชนบ้านหินสิ่ว หมู่ 6 ต�าบลโคกส�าราญ
ซ่งคนในชุมชนเป็นคนเผ่าญ้อ ย้ายถ่นฐานมาจากเมืองเซโปน ประเทศลาว ในอดีตพ้นท่ส่วนใหญ่ของ
ึ
ื
ี
ิ
ชุมชนนี้ผลิตพืชเชิงเดี่ยว เช่น อ้อย มันส�าปะหลัง ยางพารา และข้าว ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารป้องกัน
และกาจัดศัตรูพืชและปุ๋ยเคมีเป็นจานวนมาก ทาให้เกษตรกรสูญเสียเงินทุนในการซ้อปัจจัยการผลิต
ื
�
�
�
ื
ดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเกษตรกรเน่องจากต้องรับความเส่ยงจากสารเคมีท้งจากการ
ั
ี
ิ
ี
สัมผัสโดยตรง และจากการตกค้างในส่งมีชีวิตท่เป็นอาหารตามธรรมชาติ เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา ทาให้
�
ผู้บริโภคมีความเสี่ยงต่อการรับสารพิษตกค้างในอาหาร
จากปัญหาดังกล่าว ส.ป.ก. ยโสธร จึงร่วมมือกับเกษตรกรในพื้นที่ร่วมกันหารือเพื่อแก้ไขปัญหา
ื
ี
ดังกล่าว โดยได้ข้อสรุปว่า เกษตรกรในพ้นท่จาเป็นต้องพัฒนาตนเอง ให้สามารถพ่งพาตนเองและ
�
ึ
�
ึ
ลดการพ่งพิงจากปัจจัยภายนอกโดยน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการ
ดาเนินชีวิต พร้อมกันน้ แกนนาของเกษตรกรได้มีโอกาสไปเรียนรู้การผลิตตามรูปแบบเกษตรอินทรีย์
ี
�
�
ผ่านกิจกรรมโรงเรียนเกษตรกรของเครือข่ายเกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อผลิตข้าวอินทรีย์เพื่อสังคม
จึงมีความต้องการน�าความรู้ดังกล่าวมาเผยแพร่และช่วยแก้ปัญหาให้กับชุมชนของตนเอง
หลักกำรส่งเสริมเกษตรกรแบบมีส่วนร่วม
หลักการสาคัญท่ ส.ป.ก. และ ส.ป.ก. ยโสธร นามาใช้อย่างต่อเน่องในการพัฒนาเกษตรกร
ี
�
ื
�
ี
ั
ในเขตปฏิรูปท่ดินรวมท้งการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ คือ กระบวนการมีส่วนร่วมของเกษตรกรและภาค ี
ื
เครือข่าย โดยเน้นการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เพ่อให้เกษตรกรได้ร่วมศึกษาข้อมูล วิเคราะห์ตนเอง
ี
ควบคู่ไปกับการเรียนรู้จากภายนอกท่ได้รับการสนับสนุนจาก ส.ป.ก. และหน่วยงานอ่น โดยยึดหลัก
ื
ี
45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข 117