Page 135 - alro46
P. 135

ี
                                                           ่
                                                             ี
                           ้
                                                           ึ
                  นอกจากน การเย่ยมแปลงเกษตรกรเป็นอีกวธีหนงท่สร้างการมส่วนร่วมของคนในกลุ่มและ
                                 ี
                                                       ิ
                                                                      ี
                                                             ั
                                         ี
                   ี
                                                           ่
                                                           ึ
           เจ้าหน้าท ส.ป.ก. ยโสธร โดยพบว่ามการตรวจเยยมแปลงซงกนและกันของเกษตรกรร่วมกบเจ้าหน้าท  ่ ี
                                                                                    ั
                   ่
                                                   ่
                                                   ี
           ส.ป.ก. และเครือข่าย เพื่อติดตามผลการท�าเกษตรอินทรีย์ในแต่ละช่วงเวลา เพื่อให้ค�าปรึกษา แลกเปลี่ยน
                                         ่
                 ู
                         ื
                                   ั
                               ื
                     ี
                                      ู
                         ้
                                                                            ิ
                                                                         ิ
                                                                         ่
                                                                               �
                                                                                          ิ
           เรยนร้ เตรยมเนอหาหรอหลกสตรทเกษตรกรยงขาดหรอต้องการเรยนร้เพมเตมสาหรบการผลตใน
                                                                                  ั
                                                  ั
                                                         ื
             ี
                                                                       ู
                                                                   ี
                                         ี
                                    ั
                                                           �
           ระบบเกษตรอินทรีย์ พร้อมท้งยังเป็นการสร้างขวัญและกาลังใจให้แก่กันและกัน สร้างความผูกพัน
                                    ึ
           เปรียบเสมือนคนในครอบครัว ซ่งการอบรมหรือฝึกปฏิบัติบางหลักสูตรยังได้รับการสนับสนุนจากเครือข่าย
                                                                        ั
           มาเป็นวิทยากรในการบรรยายหรือฝึกปฏิบัติ แนะนาการปลูกพืชชนิด พร้อมท้งยังมีหน่วยงานท่สนับสนุน
                                                   �
                                                                                     ี
           ปัจจัยการผลิต เช่น พันธุ์ไม้ ปอเทือง กากน�้าตาล เป็นต้น รวมถึง
           กลุ่มเกษตรกรเกษตรอินทรีย์บ้ำนหินสิ่วแบบยั่งยืน:
           กลไกส�ำคัญในกำรขับเคลื่อนกระบวนกำร
                          ี
                  ประเด็นท่พบว่ามีการพัฒนาไปพร้อมกับกระบวนการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ คือ ศักยภาพ
                                                                        ี
           ของสมาชิกกลุ่มเกษตรกร ซ่งก่อต้งประมาณปี พ.ศ. 2557 เร่มจากการท่ ส.ป.ก. ยโสธรเข้าทางาน
                                       ั
                                                                                         �
                                  ึ
                                                              ิ
           ส่งเสริมเกษตรกร 25 ราย จากนั้นมีการจัดตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชนเมื่อปี พ.ศ. 2559 ต่อมา เมื่อ ส.ป.ก.
           ดาเนินโครงการส่งเสริมระบบเกษตรอินทรีย์ในพ้นท่น้ ทาให้กลุ่มได้เรียนรู้และปฏิบัติตามกระบวนการ
            �
                                                  ื
                                                     ี
                                                        �
                                                      ี
           รับรอง PGS โดยมีเกษตรกรแกนน�า เป็นผู้ขับเคลื่อนกระบวนการไปพร้อมกับเจ้าหน้าที่ ส.ป.ก. จังหวัด
           หลังจากที่ได้ไปเรียนรู้กระบวนการจากเวทีการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการที่จัดขึ้นโดย ส.ป.ก. ส่วนกลางร่วม
           กับนักวิชาการจากมูลนิธิสายใยแผ่นดิน และเครือข่ายสายใยออแกนิคของ ส.ป.ก.
                                                                             ึ
                                                         ื
                   ั
                       �
                  ท้งผู้นาเกษตรกรและสมาชิกกลุ่มได้เรียนรู้เร่องเกษตรอินทรีย์มากข้น  มีการเรียนรู้ถึง
               �
                                                                                        �
                                                                        ื
           ข้อกาหนดการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ PGS แล้วร่วมวิเคราะห์ เพ่อประยุกต์เป็นข้อกาหนด
                                                                               ื
                                                                 �
           มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของของกลุ่ม รวม 22 ข้อกาหนด มีการทาแฟ้มเกษตรกรเพ่อเก็บข้อมูลแปลง
                                                     �
           และกลุ่ม มีการแต่งต้งกรรมการตรวจแปลงและคณะกรรมการพิจารณารับรอง โดยมีโครงสร้าง
                              ั
           คณะกรรมการ ดังภาพที่ 4

              ภาพที่ 4 โครงสร้างคณะกรรมการ (ระบบรับรองแบบ PGS) กลุ่มเกษตรอินทรีย์หินสิ่วแบบยั่งยืน
          122  45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข
                  ี
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140