Page 131 - alro46
P. 131
การมีส่วนร่วม 7 ระดับเรียงจากการมีส่วนร่วมน้อยไปหามาก ได้แก่ (1) ระดับการให้ข้อมูล (2) ระดับ
การเปิดรับความคิดเห็นของประชาชน (3) ระดับการปรึกษาหารือ (4) ระดับการวางแผนร่วมกัน
(5) ระดับการร่วมปฏิบัติ (6) ระดับการร่วมติดตามตรวจสอบ และ (7) ระดับการควบคุมโดยประชาชน
(ถวิลวดี บุรีกุล, 2551)
ั
ั
สาหรับรูปแบบและข้นตอนในการส่งเสริมการเกษตรแบบมีส่วนร่วมน้น ส.ป.ก. ให้ความ
�
ส�าคัญกับ การพัฒนา “คน” โดยปรับใช้หลักการที่เสนอโดย Moyo and Hagman (2543) อ้างถึงใน
ิ
ี
ั
ิ
ั
�
ื
อาทตยา พองพรหมและคณะ (2559) ลกษณะสาคญของการส่งเสรมการเกษตรแบบมส่วนร่วม คอ
ี
�
ิ
การมุ่งเน้นไปท่การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถ่นในการแก้ปัญหาของตนเอง การจัดทาแผน
การจัดการตนเองและส่วนรวม ตลอดจนการพัฒนาขีดความสามารถขององค์กรชุมชนและผู้นา
�
ั
ิ
�
ั
ื
ั
่
ิ
ี
ื
ี
ั
โดยมีหลกการสาคญ คอ เกษตรกร นักวจย และนกส่งเสรมการเกษตรจะเป็นภาคความร่วมมอทม ี
ี
ความเท่าเทียมกันท่จะแลกเปล่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ตลอดจนการส่งเสริมขีดความสามารถของเกษตรกร
ี
ุ
ี
ั
ื
่
ในการประยุกต์ หรอพฒนาเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมใหม่ทเหมาะสมด้วยการสนับสนนให้เกษตรกร
ี
ู
ู
ู
ี
ื
้
ได้เรียนร้จากการทดลองปฏิบัติ บนพนฐานความร้และทักษะเดิมท่มอย่ และผสมผสานกับความคิดใหม่
ื
ั
ในระหว่างท่ร่วมในกระบวนการเรียนรู้ 5 ข้นตอนสาคัญ ได้แก่ (1) การกระตุ้นเพ่อให้เกิดความ
ี
�
ื
ื
เคล่อนไหวในเชิงสร้างสรรค์ในชุมชน โดยเอ้อให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการวิเคราะห์หาทางออกของ
ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตนเอง (2) การวางแผนร่วมกันของชุมชน (3) การดาเนินการตามแผนชุมชนโดย
�
�
ี
เน้นการทดลองปฏิบัติด้วยตนเอง (4) ติดตามการดาเนินงานโดยการแลกเปล่ยนประสบการณ์ความคิด
และ (5) มีการประเมินตนเอง
�
จากหลักการดังกล่าวข้างต้น จึงได้นากระบวนการโรงเรียนเกษตรกร (Farmer Field
School: FFS) เข้ามาประยุกต์ใช้ในงานพัฒนาเกษตรกรซึ่ง โรงเรียนเกษตรกร เป็นกระบวนการที่ได้รับ
การพัฒนาข้นโดยองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and agricultural
ึ
Organization: FAO) ท่เน้นการสร้างพ้นท่ทางสังคมในการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
ื
ี
ี
ี
เพ่อให้เกษตรกรได้ร่วมกันคิด ร่วมกันแก้ไขปัญหา แลกเปล่ยนประสบการณ์ และสามารถตัดสินใจได้
ื
ี
ด้วยตนเองในกระบวนการผลิตทุกข้นตอน ต้งแต่เร่มปลูก เก็บเก่ยว จนถึงหลังการเก็บเก่ยว องค์ประกอบ
ิ
ี
ั
ั
�
สาคัญของ FFS คือ มีเกษตรกรร่วมเรียนรู้ มีพ้นท่หรือแปลงสาธิตให้เรียนรู้ร่วมกัน มีผู้อานวยความ
ี
�
ื
สะดวกจัดการและสนับสนุน (Facilitator) มีหลักสูตรการเรียนรู้ และมีการจัดกระบวนการเรียนรู้
ี
จึงนับว่ากระบวนการ FFS จะเปิดโอกาสให้เกษตรกรและเจ้าหน้าท่ รวมถึงภาคีเครือข่ายได้มีโอกาส
เรียนรู้ร่วมกันและพัฒนาไปสู่ความร่วมมือในระดับต่าง ๆ
ี
นอกจากน้ ส.ป.ก. ได้ปรับใช้หลักการของกระบวนการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบ
ึ
มีส่วนร่วม (Participatory Guaranty System: PGS) ซ่งเป็นกระบวนการรับรองมาตรฐานเกษตร
ี
ึ
อินทรีย์รูปแบบหน่ง ท่ให้การรับรองเกษตรกรท่เป็นสมาชิกของกลุ่มโดยองค์กรผู้ผลิตเอง (First Party
ี
Certification) หรือมักจะถูกเรียกว่ามาตรฐานแบบชุมชนรับรอง แต่ในบางกรณีก็อาจเป็นการ
118 45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข
ี