Page 140 - alro46
P. 140
ผลส�ำเร็จที่เกิดขึ้นจำกกำรโครงกำร
�
ั
ี
ิ
ั
ั
ี
เกษตรกรมความรู้และทกษะในการทาเกษตรอนทรย์ และการจดการระบบรบรองมาตรฐาน
�
ี
�
ื
แบบ PGS และปรับเปล่ยนการผลิตจากแบบทานาเคมีเป็นการทานาอินทรีย์ รวม 50 ราย พ้นท ี ่
ี
รวมประมาณ 1,500 ไร่ มีการประยุกต์ใช้กระบวนการรับรองแบบ PGS โดยพบว่ามีเกษตรกรท่ผ่าน
การรับรองแล้ว 21 ราย โดยพบว่าเกษตรกรมีการพัฒนาหรือประยุกต์ใช้องค์ความรู้หรือเทคโนโลย ี
ในการด�าเนินงานโครงการโดยสรุป ดังนี้
1. กำรด�ำนำแบบประณีตโดยระบบกำรด�ำนำต้นเดียว (System of Rice
Intensification: SRI) เกษตรกรท่ร่วมใน FFS มีองค์ความรู้ใหม่ในการปลูกข้าวท่ประหยัดต้นทุน
ี
ี
สามารถคัดเลือกพันธุ์ปน จัดการแปลงนาได้สะดวก และปรับการผลิตไปผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวได้ท้ง
ั
ั
ี
ั
เพ่อใช้เองและจาหน่ายได้ง่ายข้น โดยถือว่าเป็นองค์ความรู้ชุดใหญ่ท่ครอบคลุมต้งแต่ข้นตอนการคัด
�
ื
ึ
เมล็ดพันธุ์ จนถึงการเก็บเกี่ยวและการจัดเก็บรักษา
2. กระบวนกำรรับรองมำตรฐำนเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม (PGS) หรือ
�
แบบชุมชนรับรอง เกษตรกรแกนนาสามารถทาหน้าท่เป็นผู้อานวยความสะดวกหรือผู้จัดกระบวนการ
ี
�
�
�
�
ในโรงเรียนเกษตรกร แบบร่วมคิดร่วมทา ตลอดจนการกาหนดกลไกการติดตามประเมินของกลุ่ม
โดยคัดเลือกคณะกรรมการตรวจแปลง และคณะกรรมการประเมิน รวมถึงการจัดระบบควบคุมภายใน
์
3. แกนน�ำกล่มเกษตรกรสำมำรถเปนนักส่งเสริมเกษตรอินทรียขยายผล
ุ
็
ความรู้และจัดกระบวนการโรงเรียนเกษตรกรเพื่อส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ แบบ PGS ในพื้นที่ต�าบลใกล้เคียง
โดยเริ่มจากต�าบลบุ่งค้าร่วมกับเจ้าหน้าที่ ส.ป.ก. ยโสธร ดังภาพที่ 10
ภาพที่ 10 การเรียนรู้เชิงปฏิบัติการการรับรองแปลงเกษตรอินทรีย์
45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข 127
ี