Page 141 - alro46
P. 141

จากการยอมรับปรับเปลี่ยนดังกล่าวเกษตรกรได้รับประโยชน์ในหลายประเด็นสรุปได้ดังนี้

                    ้
                                                                                   �
                  ดำนเศรษฐกิจ  เกษตรกรสามารถลดรายจ่ายค่าอาหารในครัวเรือนจากการนาพืชผักและ
                                   ี
                                                     ึ
                                                                       ี
           อาหารธรรมชาติในแปลงนาท่กลับมาอุดมสมบูรณ์ข้นหลังจากการปรับเปล่ยน รวมถึงการปรับเปล่ยน
                                                                                          ี
                                                                                     �
                                                                                            ึ
           วิถีชีวิตหันมาปลูกพืชผักไว้บริโภคในครัวเรือน ท้งน้เกษตรกรได้รับผลตอบแทนจากการทานาสูงข้น
                                                   ั
                                                      ี
                                  ี
                                                  �
           จากข้อมูลพบว่าเกษตรกรท่ปรับเปล่ยนสู่การทานาอินทรีย์ มาแล้ว 3 ปี มีผลตอบแทนเงินสดสุทธ  ิ
                                         ี
           จากนาอินทรีย์ 4,165 บาทต่อไร่ ในขณะท่การทานาเคมีท่วไปจะมีรายได้ประมาณ 2,400 บาทต่อไร่
                                                   �
                                                           ั
                                              ี
                                                               ึ
             ื
                                                                             ี
           เน่องจากนาอินทรีย์มีผลผลิตประมาณ 430 กิโลกรัมต่อไร่ ซ่งสูงกว่านาเคมีท่มีผลผลิตประมาณ
                                                                ั
           350 กิโลกรัมต่อไร่ และราคาขายผลผลิตข้าวอินทรีย์สูงกว่าข้าวท่วไป (ข้าวเปลือกอินทรีย์ กิโลกรัมละ
                                                                             �
                                                                             ่
           16 บาท) นอกจากนี้ เกษตรกรยังได้ลดความเส่ยงจากภาวะของราคาผลผลิตตกตา เน่องจากมีแหล่ง
                                                  ี
                                                                                 ื
           รับซื้อที่แน่นอน รวมถึงมีช่องทางการจ�าหน่ายผลผลิตเพิ่มขึ้นทั้งแบบเมล็ดพันธุ์และข้าวเปลือก
                                                                                          ี
                                                                               ั
                  ดำนสังคม  เกษตรกรมีกลุ่มท่เข้มแข็ง สามารถพ่งพาช่วยเหลือกันได้ท้งการแลกเปล่ยน
                                                             ึ
                    ้
                                             ี
           ความรู้ ทรัพยากรการผลิต เช่น ปุ๋ยหมัก เมล็ดพันธุ์ มีความมั่นคงด้านอาหารเพิ่มขึ้นในมิติความปลอดภัย
                                             ี
                                                            ึ
                      ี
           ของอาหารท่บริโภค และการมีอาหารท่หลากหลายมากข้น เกษตรกรมีบทบาทและมีส่วนร่วมใน
                                                                                  ิ
           กระบวนการส่งเสริมพัฒนาเกษตรกรของภาครัฐในระดับความร่วมมือและกาลังเพ่มข้นสู่ระดับ
                                                                                     ึ
                                                                             �
                                                                 ี
                                                      �
                                   ู
           Empowerment ส่งผลให้ผ้นาเกษตรกรและแกนนาโดยเฉพาะทมคณะกรรมการตรวจและประเมน
                                    �
                                                                                            ิ
                                                                   ิ
           แปลงได้รับการยอมรับทางสังคมมากข้น กลุ่มเกษตรกรมีเครือข่ายเพ่มข้น เช่น หน่วยงานรัฐ เอกชน
                                          ึ
                                                                     ึ
           องค์กรพัฒนาเอกชน และสถาบันเกษตรกร เครือข่ายเกษตรกรที่เข้มแข็งพื้นที่ อ.กุดชุม และมีการสร้าง
           เครือข่ายขยายผลการเรียนรู้สู่ต�าบลใกล้เคียง
                                                                         ิ
                  ดำนส่งแวดล้อม  เกิดการหมุนเวียนใช้ประโยชน์จากวัสดุในท้องถ่น เช่น ฟางข้าว ปุ๋ยคอก
                        ิ
                    ้
           การใช้เศษเหลือจากพืชผัก หมักเป็นปุ๋ยอินทรีย์ สภาพดินดีข้นจากการไม่ใช้สารเคมีและการปรับปรุง
                                                             ึ
                                                                        ี
                       ุ
               ุ
                                            ึ
                                ี
                                                                  ึ
                                                                  ้
             �
           บารงดินด้วยป๋ยอินทรีย์ชวภาพ ส่งผลถงสภาพแวดล้อมโดยรอบดีขน ไม่มการปนเปื้อนของสารเคม  ี
           รวมท้งระบบนิเวศในแปลงดีข้น ทาให้เกิดความหลากหลายของพชผักธรรมชาติ กุ้ง หอย ปู ปลา
                ั
                                    ึ
                                                                  ื
                                        �
           มีการเจริญเติบโตในแหล่งน�้าธรรมชาติ
         128   45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข
                  ี
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146