Page 142 - alro46
P. 142
ั
ปจจัยที่เอื้อต่อควำมส�ำเร็จ
�
1. ผู้นาเกษตรกรได้รับการพัฒนา มีความเข้มแข็ง สมาชิกกลุ่มเกษตรกรมีความสามัคค ี
ั
ั
ึ
่
ื
ิ
ั
ื
ี
ุ
ุ
ิ
คณะกรรมการเป็นกล่มคนร่นใหม่มทกษะในการจดบนทก วเคราะห์ วจย ประสานงาน และใช้เครองมอ
สมัยใหม่
2. มีเครือข่ายผู้นาเกษตรกรและกลุ่มท่เข้มแข็งเป็นพ่เล้ยงคอยให้การสนับสนุน และเจ้าหน้าท ่ ี
ี
ี
ี
�
ส.ป.ก. ยโสธร มีความเข้าใจและมีทักษะในการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมและเกษตรอินทรีย์
ื
ี
3. มีเครือข่ายความร่วมมือจากท้งเกษตรกรท่เข้มแข็งในพ้นท่ใกล้เคียง สหกรณ์การเกษตร
ี
ั
องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรเอกชน และหน่วยงานของรัฐ
4. ใช้กระบวนการการพัฒนาที่เน้นพัฒนาคนตามวิถีบริบทชุมชน แบบมีส่วนร่วม ทั้งเจ้าหน้าที่
เกษตรกรและเครือข่ายทุกภาคส่วน ใช้หลักการพัฒนาจากบุคคลสู่การรวมกลุ่มเกษตรกรจากกลุ่มเล็ก
ขยายเป็นกลุ่มใหญ่ จนถึงการสร้างเครือข่าย
5. ส่งเสริมแบบเน้นการคิด วิเคราะห์ ทดลองตามหลักวิทยาศาสตร์ และเรียนรู้คู่การปฏิบัต ิ
มีอิสระในการตัดสินใจยอมรับ
ี
�
ี
6. การส่งเสริมการทาเกษตรอินทรีย์ในพื้นท่อย่างต่อเน่องของเจ้าหน้าท่ โดยการติดตาม
ื
เย่ยมเยือน ปรึกษา แนะนา และมุ่งเน้นการพัฒนาจากปัญหาท่แท้จริงของเกษตรกร ใช้ทรัพยากร
ี
ี
�
ในชุมชน พัฒนาตามศักยภาพโดยไม่ก้าวกระโดด
7. นโยบายจาก ส.ป.ก.ส่วนกลาง และนโยบายในระดับจังหวัดสนับสนุนการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
อย่างชัดเจน มีกลไกรองรับการขับเคลื่อนงานทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
ื
�
จากการดาเนินงานโครงการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์จังหวัดยโสธร สามารถสรุปบทเรียนเพ่อให้
ึ
�
เห็นเป็นตัวแบบการขับเคล่อนงาน (Model) ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมซ่งสามารถนาไป
ื
ขยายผลในพื้นที่อื่น ๆ ได้ ดังภาพที่ 11
บทสรุปและข้อเสนอแนะ
�
การดาเนินการพัฒนาเกษตรกรในรูปแบบการมีส่วนร่วมของเกษตรกร เป็นรูปแบบหน่ง
ึ
ื
�
ี
ื
ท่ก่อเกิดความสาเร็จในการพัฒนารายพ้นท่ เน่องจากเกษตรกรมีบทบาทสาคัญในการขับเคล่อนพ้นท ี ่
ื
ื
�
ี
ของตนเอง สามารถนาภูมิปัญญาและประสบการณ์จากการเรียนรู้มาประยุกต์ดัดแปลงให้เหมาะสม
�
ื
ั
ี
ึ
ี
ื
�
กับบริบทของชุมชน เพ่อแก้ไขปัญหาท่เกิดข้น อีกท้งนาความรู้ขยายผลไปยังพ้นท่ใกล้เคียงท่มีความ
ี
คล้ายคลึงในบริบทต่าง ๆ สามารถพึ่งพาตนเองได้
45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข 129
ี