Page 27 - alro46
P. 27
ควำมหมำยของกำรเกษตรกับกำรท่องเที่ยว
ื
ี
�
พระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ดินเพ่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 มาตรา 4 ได้ให้คานิยาม
�
ี
“เกษตรกรรม” หมายความว่า การทานา ทาไร่ ทาสวน เล้ยงสัตว์ เล้ยงสัตว์นา และกิจการอ่น
ื
ี
้
�
�
�
ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ก�าหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ได้ให้คานิยาม “เกษตรกรรม” หมายความ
�
ว่า การใช้ท่ดินเพาะปลูกพืชต่าง ๆ รวมท้งการเล้ยงสัตว์ การประมง และการป่าไม้. (ส.) ส่วนคาว่า
ี
�
ั
ี
“ท่องเที่ยว” หมายความว่า “ก. เที่ยวไป.” (ส.)
ในปี พ.ศ. 2506 (ค.ศ. 1963) องค์การสหประชาชาติได้จัดประชุมว่าด้วยการเดินทาง และ
�
ึ
ี
�
ี
�
ี
ท่องเท่ยวระหว่างประเทศข้นท่กรุงโรม ประเทศอิตาลี และได้ให้คาจากัดความของคาว่า “การท่องเท่ยว”
ไว้ว่า “การเดินทางเพื่อความบันเทิงรื่นเริงใจ เยี่ยมญาติ หรือการไปร่วมประชุมแต่มิใช่เพื่อการประกอบอาชีพ
เป็นหลักฐานหรือไม่พ�านักอยู่เป็นการถาวร” (“Tourism comprises the activities of the person
traveling to and staying in places outside their usual environment for not more than
one consecutive year for leisure, business and other purpose.”) (Tourism of
world, ม.ป.ป.)
�
สานักงานพัฒนาการท่องเท่ยว (2546) “การท่องเท่ยว” หมายถึง การเดินทางเพ่อผ่อนคลาย
ี
ื
ี
ั
ื
ความเครียด แสวงหาประสบการณ์แปลกใหม่ โดยมีเง่อนไขว่าการเดินทางน้นเป็นการเดินทางเพียง
ึ
ั
ช่วคราว ผู้เดินทางจะต้องไม่ถูกบังคับให้เดินทาง ซ่งสอดคล้องกับ ไพฑูรย์ พงศะบุตร และวิลาสวงศ์
ี
ิ
ี
พงศะบุตร (2542) ท่ได้ให้ความหมายของ “การท่องเท่ยว” ว่าการเดินทางไปเยือนสถานท่ต่างถ่น
ี
ั
ี
�
ซ่งไม่ใช่เป็นท่พานักอาศัยประจาของบุคคลน้น และเป็นการไปเยือนช่วคราวโดยไม่ใช่เพ่อเป็นการ
ึ
ั
ื
�
ประกอบอาชีพหารายได้ (Tourism of world, ม.ป.ป.)
ี
ุ
จากความหมายดังกล่าวจึงสรุปได้ว่า การท่องเท่ยว หมายถึง การเดินทางของบคคล
ี
ี
จากท่อยู่อาศัยปกติไปยังท่อ่นเป็นการช่วคราว ด้วยความสมัครใจเพ่อการพักผ่อนหย่อนใจ ติดต่อธุระ
ั
ื
ื
และวัตถุประสงค์ใด ๆ ก็ได้ แต่ไม่ใช่เพื่อการประกอบอาชีพ หรือเพื่อการแสวงหารายได้
14 45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข
ี